Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
2.การพยาบาลเด็กที่มีการติดเชื้อ - Coggle Diagram
2.การพยาบาลเด็กที่มีการติดเชื้อ
วัณโรค (Tuberculosis: TB)
สาเหตุ
ไอ หายใจรดกัน
ระยะฟักตัว 2-10 วัน
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis
อาการ
TT (PPD test) : positive (2-10 สัปดาห์
1-6 เดือนต่อมา ต่อมน้้าเหลืองโต
ระยะแรกไม่แสดงอาการ
เจ็บป่วยตามอวัยวะที่เป็นโรค ไข้ อ่อนเพลีย น้้าหนักลด เบื่ออาหาร
การรักษา
เด็กอายุน้อยกว่า 4 ปี TT ผลบวก ให้ INH นาน 2-4 เดือน
เด็กอายุน้อยกว่า 4 ปี วัณโรค
แยกผู้ป่วย 1-2 เดือนจนเสมหะไม่พบเชื้อ
อาหารโปรตีนสูง วิตามินสูง
พักผ่อนให้เพียงพอ
วัคซีน BCG
กินยาต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือน
การวินิจฉัย
ภาพถ่ายรังสีปอด
ประวัติสัมผัสโรค
การตรวจ CT scan, MRI
การวิจฉัยชิ้นเนื้อจากต่อมน้้าเหลือง เยื่อหุ้มปอด
โรคไข้เลือดออกเดงกี่ Dengue hemorrhagic fever
การกำเนิดโรค
1 ระยะไข้สูง (Febrile stage)
อาจปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา
อาจมีเบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้องด้วย
มักมีหน้าแดง ส่วนใหญ่ไม่มีน้้ามูกไหลหรือไอ
ระยะวิกฤตหรือช็อก (Critical stage)
รุนแรง มีการไหลเวียนเลือดล้มเหลว
เกิดภาวะช็อก (Hypovolemic shock)
เป็นระยะที่มีการรั่วของพลาสมา ซึ่งพบทุกราย โดยระยะรั่ว 24-48 ชั่วโม
อาการกระสับกระส่าย มือเท้าเย็น
ระยะฟื้นตัว (Convalescent stage)
ผู้ป่วยช็อก รักษาถูกต้อง เมื่อการรั่วของพลาสมามาหยุด Hct.ลงมาคงที่ ชีพ จรช้าลงและแรงขึ้น BPปกติ pulse pressure กว้าง จ้านวนปัสสาวะเพิ่มมากขึ้น
อาการดีชัดเจน อาจพบหัวใจเต้นช้า (Bradycardia)
ผู้ป่วยที่ไม่ช็อก เมื่อไข้ลงก็จะดีขึ้น
อาการ
มีอาการไข้อย่างเฉียบพลันและสูงลอย 2-7 วัน
มีเกร็ดเลือดน้อยกว่า 100,000
มีอาการเลือดออก อย่างน้อย Positive tourniquet test
Hct.เพิ่มขึ้นเท่ากับหรือมากกว่า 20% เทียบกับ Hct.เดิม
การพยาบาล
การให้ผงเกลือแร่ ORS น้อยๆบ่อยๆ
การบันทึกสัญญาณชีพทุก 15-30 นาที
การเช็ดตัวลดไข้
การเจาะ Hct ทุก 4-8 ชั่วโมง
การรักษา
ระยะช็อก มุ่งแก้อาการช็อกและอาการเลือดออก ให้สารน้้า
ระยะพักฟื้น เป็นช่วงสารน้้ากลับเข้าสู่หลอดเลือด
ระยะไข้สูง ให้ยาลดไข้ ห้ามให้แอสไพริน
ความรุนแรงของไข้เลือดออกเดงกี
Grade III: ผู้ป่วยช็อก, มีชีพจรเบาเร็ว, pulse pressure แคบ, BP ต่้า, ตัวเย็น, เหงื่อออก, กระสับกระส่าย
Grade IV: ช็อกรุนแรง, วัด BP หรือ Pulse ไม่ได้
:Grade II มีเลือดออก เช่น จุดจ้้าเลือดออกตามตัว, มีเลือดก้าเดา, อาเจียน ถ่ายอุจจาระสีด้า, Hct เพิ่มมากกว่าร้อยละ 20, BP ยังปกติ
:Grade I ตรวจทูนิเกท์เทสต์ให้ผลบวก
เอดส์ในเด็ก(AIDS)
อาการ
ปากเป็นแผล
ผิวหนังอักเสบทั่วไป
น้ำหนักลด
ต่อมน้ำเหลืองทั่วไปโต
ไอเรื้อรัง
การป้องกันรักษา
เลือกท้าการผ่าตัดอกทางหน้าทอ้งก่อนเจ็บครรภ์คลอดและน้้าเดิน
งดให้นมแม่ ให้นมผสมแทน
ให้ยาต้านไวรัส คือ AZT โดยให้หญิงตั้งครรภ์รับประทานทุก 12 ชม
ให้ BCG และ IPV แทน OPV
ไม่ให้ทั้งสองชนิด (ACIP)
การติดต่อ
จากแม่สู่ลูก
การได้รับเชื้อ ได้รับเลือด
การมีเพศสัมพันธ์
สาเหตุ
โรคที่เกิดภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือเสื่อมไป
เกิดจากเชื้อไวรัส HIV
ระยะฟักตัว
ประมาณ 2-3 เดือน แสดงอาการภายใน 5 ปี
โรคมือเท้าปาก (Hand Foot Mouth Disease)
อาการ
ผื่นเริ่มจากจุดนูนแดงเล็กๆ เจ็บ ต่อมาเป็นตุ่มขนาด 3-7 mm
มีแผลหรือผื่นในช่องปาก: ลิ้น เยื่อบุช่องปาก เหงือก เพดาน ริมฝีปาก เป็นตุ่ม ใส
เริ่มจากการมีไข้ต่้าๆ เจ็บคอ มีผื่น
อาการเจ็บปาก ตรวจร่างกายจะพบมีรอยโรคในบริเวณปาก มือ และเท้า ตามมา
การวินิจฉัย
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
ตรวจน้้าไขสันหลัง
ตรวจร่างกายพบรอยโรคบริเวณมือ เท้า ปาก ร่วมกับไข้
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัส Enterovirus
ระยะฟักตัว: 2-6 วัน
การติดต่อ
อุจจาระของผู้ป่วยซึ่งมีเชื้อไวรัสอยู่ ช่วงที่แพร่กระจายมากที่สุด
การสัมผัสโดยตรงตรงกับสารคัดหลั่งจากจมูก, ล้าคอ และน้้าจากในตุ่มใส
ไม่สามารถติดต่อจากคนสู่สัตว์ หรือจากสัตว์สู่คน
การรักษา
เป็น โรคที่สามารถหายเองได้เอง
ในกรณีที่มีภาวะแทรกซ้อนให้รักษาตามอาการ
รักษาแบบประคับประคองและบรรเทาอาการ
การป้องกัน
แยกเด็กไม่ให้ร่วมกิจกรรมกับเด็กอื่น
ผู้ดูแลล้างมือบ่อยๆ โดยเฉพาะหลังเปลี่ยนผ้าอ้อม
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคออกจากกลุ่มเพื่อน
ท้าความสะอาดพื้นห้องน้้า สุขา เครื่องใช้ ของเล่น
การติดเชื้อที่ผิวหนัง
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อไวรัส
หูดข้าวสุก (Molluscum contagiosum)
สามารถติดต่อได้โดยตรงจากการสัมผัสผิวหนังตรงรอยโรค
การแกะหรือเกาผิวหนัง
หูด (Warts)
เป็นเนื้องอกชนิดไม่ร้ายของผิวหนัง
หูดเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี หรือ “ฮิวแมน แปปิโลมา ไวรัส
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อแบคทีเรีย
โรคเซลล์เนื้อเยื่ออักเสบ (Cellulitis)
เป็นผื่นสีแดงบวมที่ผิวหนัง (มักจะเกิดที่บริเวณขาหรือแขน)
มีรอยบาดแผล รอยขีดข่วน หรือแมลงกัดต่อย
โรคไฟลามทุ่ง (Erysipelas
ผื่นแดงสด ลุกลามเร็วคล้ายไฟลามทุ่ง
ผู้ป่วยควรปฏิบัติตัวตามค้าแนะน้าของแพทย์
โรคแผลผุพอง(Impetigo)
เป็นโรคติดเชื้อที่ผิวหนังในบริเวณที่เป็นชั้น ตื้นๆของหนังก้าพร้า
บริเวณใบหน้าหรือบริเวณแขน-ขา ที่ มีแผลอยู่ก่อนแล้ว
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อรา
โรคกลาก (Dermatophytosis)
โรคกลากที่ศีรษะ และเส้นผม
โรคกลากที่ล่าตัว
โรคเกลื้อน (tinea vesicolor)
โรคติดเชื้อของวัคซีน
โรคไอกรน (Pertussis)
โรคโปลิโอ (Polio)
โรคบาดทะยัก (Tetanus)
โรคคางทูม (Mumps)