Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ตนเองในการบำบัด - Coggle Diagram
การใช้ตนเองในการบำบัด
การใช้ตนเองเพื่อการบำบัด (Therapeutic use of self)
ช่วยเหลือและแก้ไขให้ผู้ป่วยมีความคิดและการกระทำที่เหมาะสม
อาวุธที่สำคัญ คือตนเอง
มโนมติพื้นฐาน
อัตตา
อัตมโนทัศน์
ตัวตนด้านร่างกาย
ตัวตนส่วนบุคคล
ตัวตนด้านศีลธรรมด้านจรรยา
ตัวตนด้านความสม่ำเสมอแห่งตน
ตัวตนด้านปณิธานหรือความคาดหวัง
ตัวตนด้านการยอมรับนับถือตนเอง
ความตระหนักรู้ในตนเอง บุคคลรู้สึกตัว
การตระหนักรู้ในฐานะวิชาชีพ ความจริงใจความทุ่มเท
การตระหนักรู้ในตนเองในฐานะบุคคล
แนวทางการตระหนักรู้
เพื่อพิจารณาตนเอง
รับฟังและเรียนรู้จากผู้อื่น
การเปิดเผยตนเอง
ประโยชน์
ทำให้ทราบความรู้สึก
ติดต่อผู้อื่นได้มีประสิทธิภาพ
ทำงานได้มีประสิทธภาพ
มีทัศนคติทีี่ดีในการทำงาน
สามารถปรับตัวเข้ากับงานได้
คุณสมบัติที่จำเป็น
บุคลทุกคนมีคุณค่า
ไม่ตัดสินผู้อื่น
ให้การยอมรับ
ท่าทีอบอุ่น
เข้าใจความรู้สึก
ความจริงใจ
ความสอดคล้อง
ความอดทน
ให้ความเคารพ
เชื่อถือได้
การเปิดเผยตัวเอง
มีความรู้
มีความสม่ำเสมอ
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด และการสื่อสารเพื่อการบําบัด
สัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและผู้ป่วย
เป้าหมายในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด เพื่อให้ผู้ปุวย
ตระหนักในตนเอง ยอมรับตนเอง
รู้จักตนเองดีขึ้น และปรับปรุงตัวเองด้านความคิดและการแสดงออก
มีความสามารถที่จะสร้างความสนิทสนมคุ้นเคยกับผู้อื่น
ปรับปรุงการกระทําหน้าที่ในการดํารงชีวิต
ให้โอกาสผู้ปุวยได้ระบายความรู้สึกไม่สบายใจ
1.ระยะการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด
ระยะก่อนการสนทนา
เตรียมตัวและมีเป้าหมาย
วางแผน วัตถุประสงค์ สถานที่ เวลา
ศึกษาข้อมูลผู้ป่วยเบื้องต้น
ตรวจสอบสภาพร่างกาย และจิตใจตนเอง ให้พร้อมในด้านแนวคิด
2.ระยะเริ่มต้นของสัมพันธภาพ เป็นระยะที่ทำความรู้จักกัน
เตรียมสถานที่และบรรยากาศให้น่าไว้วางใจ
พบกันคราวหน้าควรทักทายด้วยความเป็นมิตร
กำหนดข้อตกลง เช่น ระยะเวลาที่ดูแล
ค้นหาปัญหาที่แท้จริง
สร้างความไว้วางใจ
ปัญหาที่พบ
ความวิตกกังวล ทั้งผู้ป่วยและพยาบาล
การทดสอบ มักทดสอบขอบเขตสัมพันธภาพ
การต่อต้าน ผู้ป่วยไม่รับรู้ มีสัมพันธภาพที่ไม่ใกล้ชิดพยาบาล
3.ระยะแก้ปัญหา
พยาบาลควรปฏิบัติ
รักษาสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
ค้นหาสาเหตุและปัญหา
ประเมินการเจ็บป่วย มีผลกระทบต่อชีวิตไหม
ร่วมกับผู้ป่วยวิเคราะห์สาเหตุ
สนับสนุนด้านจิตใจ
ข้อบ่งชี้ที่ทำให้เข้าใจว่าเข้าสู่ขั้นแก้ปัญหา
ผู้ป่วยจะเลิกถามถึงวัตถุประสงค์ที่พยาบาลพบเขา
ผู้ป่วยจะมาตรงตามเวลานัด
ผู้ปุวยจะรักษาเวลา จะพยายามรวบรัดเรืองราวให้จบภายในเวลาที่พยาบาลให้
ผู้ป่วยจะพูดถึงปัญหา และความยุ่งยากของเขา
ผู้ป่วยจะพูดเชื่อมโยงเหตุการณ์ในครั้งก่อน ๆ กับเหตุการณ์ในครั้งหลังๆ
ผู้ป่วยจะแจ้งให้พยาบาลทราบ ถ้าเขามีเหตุขัดข้องมาพบพยาบาลไม่ได้
ปัญหาที่พบ
ความวิตกกังวลของพยาบาล
ความรู้สึกร่วมกับผู้ป่วย
ถ่ายโยงความรู้สึกของผู้ป่วยไปสู่พยาบาล
ถ่ายโยงความรู้สึกพยาบาลไปสู่ผู้ป่วย
4.ระยะยุติสัมพันธภาพ
การเตรียมผู้ป่วย
ในกรณีที่ผู้ปุวยอยู่โรงพยาบาลแต่ต้องยุติสัมพันธภาพ
ควรบอกให้ผู้ป่วยทราบ
บอกให้ผู้ปุวยทราบว่าอาการอะไรที่ดีขึ้นของผู้ปุวยว่ามีอะไรบ้าง
บอกถึงประโยชน์ที่นักศึกษาได้รับจากการสนทนากับผู้ปุวย
ประเมินความรู้สึกของผู้ปุวยต่อการยุติสัมพันธภาพ
บอกแหล่งที่ผู้ปุวยสามารถขอความช่วยเหลือได้
แนะนําข้อปฏิบัติในการดูแลสุขภาพ
บอกถึงอาการของผู้ปุวยที่ดีขึ้น
แนะนําข้อปฏิบัติในการดูแลสุขภาพ
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยสรุปสิ่งที่เกิดขึ้นในกระบวนการสร้างสัมพันธภาพ
สําหรับพยาบาลควรสรุปในส่วนที่ได้ร่วมแก้ปัญหากับผู้ป่วยโดยมุ่งเน้นการเปลี่ยนแปลง
ประเมินปฏิกิริยาของผู้ปุวยในระยะยุติสัมพันธภาพและให้เวลาผู้ป่วยได้บอกความรู้สึก
ยุติหรือสิ้นสุดสัมพันธภาพในรูปแบบของวิชาชีพ
ปฏิกิริยาต่อการยุติสัมพันธภาพ
ด้านพยาบาลจะเกิดความรู้สึกเศร้า
ด้านผู้ป่วยจะมีปฏิกิริยาต่อการยุติสัมพันธภาพกับพยาบาล
ไม่ยอมรับการยุติสัมพันธภาพ
ไม่ยอมรับในตัวพยาบาล
โกรธและไม่เป็นมิตร
มีพฤติกรรมถดถอย
มีความรู้สึกเศร้า
การสื่อสารเพื่อการบำบัด
องค์ประกอบที่มีผลต่อการสื่อสาร
สถานที่ ควรมีความปลอดโปร่ง สบาย
ท่านั่ง ควรใช้เวลา30-60นาที นั่งทำมุม45องศา
ระยะห่างระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วย ห่าง4-12ฟุต
เทคนิคการสื่อสาร
กระตุ้นและส่งเสริมการสนทนา
กระตุ้นให้ระบายความรู้สึก
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีคุณค่า
ช่วยให้พยาบาลกับผู้ป่วยเข้าใจตรงกัน
ส่งเสริมความเข้าใจในการปรับตัวของผู้ป่วย
หลักปฏิบัติในการสื่อสาร
ฟังทั้งเนื้อหาและเจตนาว่าผู้ป่วย
ไม่เสนอข้อมูลมากเกินไปจนทําให้ผู้ป่วยสับสน
ไม่พูดถึงอดีตที่ปวดร้าวเกินไป
สื่อสารที่เน้นเรื่องราวที่เป็นปัจจุบัน
ใช้หลักการสื่อสารที่ให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสระบายความรู้สึก
ใช้หลักการต่างๆที่ง่ายๆ ชัดเจน ตรงไปมา
ให้สําคัญกับความสอดคล้องระหว่างเนื้อหา คําพูด ท่าทาง สีหน้า และน้ําเสียงของพยาบาล
อุปสรรคในการสื่อสาร
การใช้เทคนิคการสนทนาไม่เหมาะสม
การใช้คําปลอบโยน "อดทนไว้ เดี๋ยวก็ดีขึ้น"
การให้คําแนะนํา "คุณควรจะ....."
การแสดงการเห็นด้วยกับข้อคิดเห็นหรือการกระทําผู้ป่วยเช่น "คุณทําถูกแล้ว"
การแสดงความไม่เห็นด้วยกับข้อคิดเห็นหรือการกระทําผู้ป่วยเช่น"คุณไม่น่าทําแบบนี้"
การขอคําอธิบาย
การดูถูกความรู้สึกผู้ปุวย
การดําเนินวิธีการสื่อสาร
สิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม
ข้อจํากัดทางอาการของผู้ปุวย
ท่านั่ง ที่แสดงถึงความไม่สนใจผู้ปุวย
ระยะห่างระหว่างบุคคลมาหรือน้อยเกินไป