Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ส่วนประกอบของงานวิจัย, ปิยะธิดา ขอนแก่น เลขที่ 72 รุ่น36/1…
บทที่ 2 ส่วนประกอบของงานวิจัย
รายงานวิจัยสมบูรณ์แบบ
ประกอบด้วย
2.ส่วนเนื้อความ
2.3 การดำเนินงานวิจัย (บทที่ 3)
เครื่องมือในการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง/แหล่งข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
2.4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (บทที่ 4)
2.2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง(บทที่ 2)
ความรู้เกี่ยวกับตัวแปรที่ศึกษา 1
ความรู้เกี่ยวกับตัวแปรที่ศึกษา 2
2.5 ผลสรุป (บทที่ 5)
อภิปรายผล
ข้อเสนอแนะ
สรุปผลการวิจัย
2.1 บทนำ(บทที่ 1)
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
วัตถุประสงค์
ขอบเขตของการวิจัย
ข้อตกลงเบื้องต้น (ถ้ามี)
สมมติฐาน
นิยามศัพท์เฉพาะ
ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย
3.ส่วนประกอบตอนท้าย
ภาคผนวก
ประวัติผู้วิจัย
บรรณานุกรม/เอกสารอ้างอิง
1.ส่วนนำ
ประกอบด้วย
คำนำ/กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
หน้าอนุมัติ(ถ้ามี)
สารบัญ (ตาราง , ภาพประกอบ)
ปกใน
อักษรย่อ สัญลักษณ์
ปกนอก
การกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย
การตั้งสมมติฐาน
เป็นการคาดหวังผลที่เกิดขึ้นเขียนการนำปัญหามาเปลี่ยนให้อยู่ในรูปของคำตอบที่คาดเดาไว้อย่างมีเหตุผล
จุดมุ่งหมาย
ขยายขอบเขตความรู้
เป็นเครื่องช่วยชี้ทิศทางของงานวิจัยให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
เพื่อเชื่อมโยงทฤษฎีและข้อเท็จจริงที่สังเกตพบ
ลักษณะของสมมติฐานที่ดี
ตัวแปรที่ศึกษาต้องวัดได้ สังเกตได้ ความสัมพันธ์ต้องวิเคราะห์ได้ด้วยวิธีทางสถิติ
ความสัมพันธ์ต้องมีเหตุผลสอดคล้องกับผลวิจัยและทฤษฏี
ต้องระบุความสัมพันธืของตัวแปรโดยคาดการล่วงหน้าว่าเกิดขึ้นโดยอยู่ในรูป"แตกต่างกัน" "มากว่า-น้อยกว่า" "ขึ้นอยู่กับ"
ประโยคสมมติฐานต้องแสดงความเป็นเหตุเป็นผลที่เหมาะสม
ข้อบกพร่องที่พบ
เขียนโดยไม่คำนึงถึงความเป็นไปได้ในการทำวิจัย
ไม่ครอบคลุมทุกประเด็นที่ศึกษา
เขียนไม่ชัดเจน
การเขียนวัตถุประสงค์
เขียนในรูปประโยคบอกเล่า เน้นความแตกต่าง
เพื่อศึกษาปัญหา แนวโน้ม ปัจจัยที่มีผล ทดสอบ หาความสัมพันธ์
จำนวนข้อวัตถุประสงค์ อาจกำหนดประมาณ2-5ข้อ สำหรับงานวิจัยหนึ่งเรื่อง
ประเภทของสมมติฐาน
มี 2 ประเภท
2.สมมติฐานทางสถิติ(Statistical hypothesis)
มี 2 ชนิด
สมมติฐานเป็นกลาง(Null hypothesis)
สัญลักษณ์คือ (=)
สมมติฐานอื่น (Altemative hypothesis)
สัญลักษณ์คือ (>< , =ขีด, ><หรือเท่ากับ)
1.สมมติฐานทางการวิจัย(Research hypothesisi)
มี 2 ชนิด
สมมติฐานทางการวิจัยมีแบบมีทิศทาง (Directional hypothesis)
เป็นสมมติฐานที่เขียนระบุอย่างชัดเจนถึงทิศทางของความแตกต่างถึงทิศทางระหว่างกลุ่ม โดยมีคำว่า"ดีกว่า-สูงกว่า " " น้อยกว่า-ต่ำกว่า"
สมมติฐานทางการวิจัยไม่มีแบบไม่มีทิศทาง (Nondirectional hypothesis)
เป็นสมมติฐานที่ไม่กำหนดทิศทางความแตกต่างและความสัมพันธ์
การกำหนดวัตถุประสงค์
เป็นการแจงรายละเอียดหัวข้อวิจัยเป็นหัวข้อย่อยๆ
ต้องสอดคล้องกับเรื่องที่จะศึกษา ชัดเจน สัมพันธ์กับขอบเขตปัญหา
การกำหนดปัญหาการวิจัย
แหล่งที่มาของปัญหา
ข้อเสนอแนะในวิทยานิพนธ์ หรืองานวิจัย
บทคัดย่อของวิทยานิพนธ์
งานเขียนทางวิชาการของคนอื่น
การปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
ประสบการณ์ของผู้วิจัยเอง
องค์กรหรือหน่วยงานที่ต้องการใช้ผลงานวิจัย
ทฤษฎีที่ผู้วิจัยสนใจ
การวิเคราะห์ระบบ
การประเมินปัญหาการวิจัย
เครื่องมือที่จะใช้ในการวิจัย
ข้อมูลรวบรวมปัญหามีอุปสรรคอะไรบ้าง
ผู้วิจัยมีความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาเรื่องที่ทำ
ระยะเวลา จำนวนเงินที่ใช้ในงานวิจัยเพียงพอ
ผู้วิจัยเองมีความสนใจปัญหาจะทำวิจัยอย่างจริงจัง
งานวิจัยที่ทำซ้ำซ้อนกับคนอื่นหรือไม่
ปัญหาการวิจัยที่ตรงกับความต้องการ
ปัญหาการวิจัยที่มีลักษณะทำเพิ่มเติมบางส่วน ขยายขอบเขต พิจารณาว่าจำเป็นไหม คุ้มค่ากับการลงทุน ลงแรง
ปิยะธิดา ขอนแก่น เลขที่ 72 รุ่น36/1 612001073
เป็นคำตอบที่ผู้วิจัยคาดคะเนไว้ล่วงหน้าที่แสดงความเกี่ยวข้องระหว่างตัวแปร
เพื่อใช้ทดสอบว่า สมมติฐานทางการวิจัยที่ผู้วิจัยตั้งไว้เป็นจริงหรือไม่ สามารถทดสอบได้ด้วย ทางสถิติ