Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การกำหนดกรอบแนวคิดในงานวิจัย, นายสุทธิพงษ์ สีแสนตอ 36/2 เลขที่ 69 รหัส…
การกำหนดกรอบแนวคิดในงานวิจัย
Conceptualization
กระบวนการสร้างมโนทัศน์จากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริงตามธรรมชาติ
ใช้ความรู้จากทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของมาใช้ในการเขียน
เขียนแล้วเป็นกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี
Theoretical framework
เขียนแสดงความสัมพันธ์เชื่อมโยงของตัวแปรตามหลักการทางทฤษฎีที่มีอยู่
เขียนครอบคลุมทุกตัวแปรที่เกี่ยว
จะเขียนเป็น diagram
Conceptual framework
เขียนแสดงตัวแปรไม่ครบทุกตัว
เลือกเขียนเฉพาะตัวแปรที่เกี่ยว
ใช้คำบรรยายประกอบแผนภาพ
เขียนอธิบายความสัมพันธ์สอดคล้องเกี่ยวข้อง ของตัวแปร และอธิบายที่เขียนไม่ครบทุกตัว
การเขียน
1.กำหนดขอบเขตวิจัย
2.เปลี่ยนชื่อเรื่อง
3.ทำให้มีตัวแปรควบคุม
4.ทำให้อยู่ใน inclusion criteria
5.ทบทวนเอกสารและวรรณกรรมให้ครอบคลุม
6.สรุปและเขียนว่าควมรู้ประเด็นนี้เป็นอย่างไร
7.มีเกณฑ์ช่วยในการอ่าน
ข้อบกพร่องที่พบบ่อย
การทบทวนวรรณกรรมไม่ดีพอ จึง comment ไม่ได้
เขียนเป็นกระบวนการวิจัย
ใช้ theoretical concept มาเขียน
แสดงความสัมพันธ์ไม่ถูกต้อง
ประเภทของงานวิจัย
1.แบ่งตามประโยชน์ไปใช้
การวิจัยพื้นฐานหรือวิจัยบริสุทธิ์
ผลได้จากกาวิจัยเป็นสูตร กฎ หรือทฤษฎีในการเรียนหรือการวิจัยในสาขานั้นๆ
การวิจัยประยุกต์
เมื่อได้ผลเป็นอย่างไรก็จะนำไปสู่การตัดสินใจใช้เป็นยารักษาโรคเบาหวานต่อไป
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ
มุ่งทำให้เกิดผลที่เป็นพัฒนางานหรือแก้ไขข้อบกพร่องของหน่วยงาน (มีความเฉพาะเจาะจง)
2.แบ่งตามวัตถุประสงค์และวิธีการเสนอข้อมูล
การวิจัยขั้นสำรวจ
หาคำตอบเกี่ยวกับตัวแปรที่ศึกษาว่าเป็นอย่างไร เช่น จำนวน ร้อยละ มาก-น้อย สูง-ต่ำ
การวิจัยเชิงบรรยาย
คล้ายกับแบบสำรวจตรงไม่มีการทดลอง
การวิจัยเชิงอรรถาธิบาย
ไม่มีการทดลอง แต่หาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ หรือหาปัจจัยที่มีผลต่อตัวแปร
การวิจัยเชิงคาดคะเน
เป็นการวิจัยสิ่งที่ยังไม่เกิดแต่คาดว่าจะเกิด
การวิจัยเชิงวินิจฉัย
เป็นการวิจัยค้นหาสาเหตุหรือปัญหา
3.แบ่งตามความสามารถในการควบคุมตัวแปร
การวิจัยเชิงทดลอง
เป็นการวิจัยที่ควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนได้เต็มที่
ปลูกข้างในห้องทดลอง ควบคุมอุณหภูมิ 20องศา
การวิจัยเชิงกึ่งทดลอง
ควบคุมได้บางส่วน
เช่นให้นักเรียน ห้องหนึ่งเรียนแบบบรรยาย
การวิชัยเชิงธรรมชาติ
ไม่ต้องควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนปล่อยเป็นตามธรรมชาติ
4.แบ่งตามระเบียบวิธีวิจัย
การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
ศึกษาอะำรเกิดขึเนในอดีตบ้าง หาความสัมพันธ์ของตัวแปรในอดีตกับปัจจุบัน
การวืจัยเชิงบรรยาย
ไม่มีการทดลองใดๆ ศึกษาสิ่งที่เกิดในปัจจุบัน
การวิจัยเชิงทดลอง
มีการทดลอง
การวิจัยเชิงย้อนรอย
การวิจัยที่ศึกษาจากผลไปหาสาเหตุ ผลในปัจจุบันเกิดมาจากสาเหตุในอดีต
การวิจัยเชิงสำรวจ
หาคำตอบเกี่ยวกับตัวแปรว่ามีคุณลักษณะอย่างไร
กาวิจัยเชิงประเมินผล
ประเมินผลอาจใช้ CIPP แบบที่นักวิจัยไทยนิยม ประเมินว่า context คือบริบทของงานที่ประเมินเป็นอย่างไร
5.แบ่งตามลักษณะข้อมูล
การวิจัยเชิงปริมาณ
การวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิจัยแบบผสม
แบบคู่ขนาน
แบบตามลำดับก่อน-หลัง
6.แบ่งตามวิธีการเก็บรวบรวม
ข้อมูลวิจัยจากเอกสาร
เช่น เอกสาร รายงาน จดหมายเหตุ ศิลาจารึก
การวิจัยจากการสังเกต
ใช้การสังเกต
ใช้มากทางด้านมนุษยวิทยาสังเกตพฤติกรรมของมนุษย์
วิจัยแบบสำมะโน
วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุกๆหน่วยของประชากร
การวิจัยแบบสำรวจจากตัวอย่าง
เก็บข้อมูลนากกลุ่มตัวอย่าง
การศึกษาเฉพาะกรณี
การศึกษาเฉพาะกรณีเป็นการวิจัยที่นักสังคมสงเคราะห์นิยยมใช้
การศึกษาแบบต่อเนื่อง
เป็นการเก็บข้อมูล เป็นระยะๆ เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา
การวิจัยเชิงทดลอง
เป็นการเก็บข้อมูลจากการทดลอง เป็นผลมาจากการกระทำ
ประเภทของ Qualitative study
การวิจัยชาติพันธุ์วรรณนา
หาความจริงโดยเป็นส่วนหนึ่งของเรื่องที่ศึกษา ไม่ใช่การศึกษาฉาบฉวย
การวิจัยปรากฏการณ์
อธิบายว่าตัวแปรคืออะไร โดยใช้ประสบการณ์ของผู้ให้ข้อมูลที่เคยมีประสบการณ์เรื่องนั้น
การวิจัยทฤษฎีฐานราก
สร้างทฤษฎีจากข้อมูลที่พบ
นายสุทธิพงษ์ สีแสนตอ 36/2 เลขที่ 69 รหัส 612001150