Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ โรคเขตร้อน โรคติดต่อ เเละโรคอุบัติใหม่ -…
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ
โรคเขตร้อน โรคติดต่อ เเละโรคอุบัติใหม่
Communicable Disease: โรคที่เกิดจากตัวเชื้อ หรือพิษของเชื้อชนิดใดชนิดหนึ่งใน ๔ ชนิดได้แก่แบคทีเรีย ไวรัส ราและปรสิต
Tropical Disease (โรคเขตร้อน) โรคท่ีเฉพาะในเขตร้อน แมลง เช่น ยุง แมลง หนูเป็นพาหะ
Emerging Infectious Diseases โรคติดเชื้ออุบัติใหม่
ระยะของการติดเชื้อ
Entry of Pathogen
Colonization
Incubation Period
Prodomal Symptoms
Invasive Period
Decline of Infection
Convalecsence
MALALIA
การวินิจฉัย
ประวัติอาศัย
เดินทางจากพื้นที่ระบาดใน 1 เดือน
เคยเป็นมาลาเลียใน 3 เดือน
มีอาการไข้ร่วมกับปวดศีรษ. อ่อนเพลีย. ปวดท้อง
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Thick and Thin Blood Smear
Rapid Diagnostic test
PCR
ยารักษา
Artesunate
Mefloquine
Quinine
Choloroquine
Primaquine
Doxycycline
รักษาเมื่อมีอวัยวะสำคัญล้มเหลว
ชัก ให้ยากันชัก เช่น Dizepam
น้ำตาลในเลือดต่ำ ให้สารน้ำที่มีน้ำตาล
ซีด ให้ PRC
น้ำท่วนปอด นอนหัวสูง ให้ o2 ให้ยาขับขับปัสสาวะ
ไตวาย ขาดน้ำให้สารน้ำ ไตวายให้ HD
เลือดออกง่าย ประเมิน ให้Blood
Rabies
อาการ
ระยะที่1 อาการนำของโรค
มีไข้. หนาวสั่น. ปวดศีรษะ. อ่อนเพลีย. เบื่ออาหาร เจ็บคอ. คลื่นไส้. อาเจียน ท้องเดิน. กระสับกระส่าย.ลุกลี้ลุกลน วิตกกังวล.
ระยะที่2 ปรากฎอาการทางระบบประสาท
แบบคลุ้มคลั่ง
แบบอัมพาต
แบบเเสดงอาการไม่ตรงต้นแบบ
ระยะที่3. ไม่รู้สึกตัว
หมดสติ. เสียชีวิต จากระบบหายใจเเละ/หลเวียนล้มเหลว
การวินิจฉัย
•Directfluorescentantibodytest
•RT-PCR
การพยาบาลผู้ป่วยสัมผัสโรค
การรักษาบาดแผลตามลักษณะของแผลที่ถูกสัตว์กัด: ใสย่าฆ่าเชื้อปิดแผลด้วยผ้าก๊อซและอาจไม่เย็บแผลที่สัตว์กัดทันที
การให้รับประทานยาปฏิชีวนะ
การฉีดยาป้องกันบาดทะยัก
การฉีดยาป้องกันแก่ผ้สัมผัสโรคพิษ สุนัขบ้า
หากมีอาการกลัวน้ำ กลัวลมดูแลรักษาไปตามอาการ
คำแนะนำในการดูแลผ้ปู่วยที่เป็นโรคพิษสุนัขบ้า
Thyphoid
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไทฟอนด์
การติดต่อ
ติดต่อจากคนสู่คน
Symptoms
High. Fever
Headache
Weakness
:Dry cough
stomach pain
Constiipation
Rashes
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเพาะเชื้อจากของเหลวในร่างกาย
Widal test
ตรวจหา Antibody
CBC. ESR
ภาวะแทรกซ้อน
เลือดออกในลำไส้. ถ่ายเป็นเลือดสดๆ. ลำไส้ทะลุ
ท้องอืดท้องเเข็ง
การดูแล|รักษา
รักษาด้วยยาปฏิชีวนะ
รักษาประคับประคองตามอาการ
เฝ้าระวังภาวะ Shock
สังเกตุภาวะแทรกซ้อน
เฝ้าระวังการกลับเป็นซ้ำ
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วย
ไข้เลือดออก
สาเหตุ
เกิดเชิ้อไวรัสเดงกี่
โดนยุงที่ไปกัดคนเป็นไข้เลือดออกแล้วมากัด
อาการสำคัญ
ระยะไข้
ไข้สูง
เบื่ออาหาร
คลื่นไส้. อาเจียน. ปวดท้อง
หน้าเเดง. มีผื่น
ระยะพักฟื้น
ซึม. เหงื่ออก มือเท้าเย็น.
ปวดท้องใต้ช่ยโครงขวา
ปัสสาวะน้อย
เลือดออกง่าย
ระยะพักฟื้น
HT
อยากรับประทานอาหาร
ปัสสาวะมาก.มีจุดเลือดเล็กๆตามลำตัว
ชีพจรเต้นเเรงและช้าลง
อาการติดเชื้อไวรัสแดงกี่
อาการติดเชื้อไข้แดงกี่ Dengue Fever
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกแดงกี่ที่ช็อค
การดูเเล
ระยะไข้สูง
ระยะเวลาในการให้น้ำเกลือ 24-48ชมเพราะระยะนี้มีการรั่วของพลาสมา
ติดตาม ความเข้มข้นของเลือด V/S ปริมาณปัสสาวะ.
ให้น้ำเกลือให้เพียงพอ
เช็ดตัวลดไข้
ระยะช็อค
V/S ไข้สูงคือช็อค
ประเมินปริมาณของปัสสาวะ
ประเมินอาการภาวะช็อค
งดอาหารดำแดง
สังเกตอาการเเน่นอึดอัดท้อง
ระยะฟื้น
v/s
ประเมินภาวะน้ำเกิน
ประเมินปริมาณปัสสาวะ
แนะนำการดูเเลตนเอง
อหิวาตกโรค
เชื้อแบคทีเรียvebriocholera
ฟักตัว : 24 ชม- 5 วัน
ติดต่อ
ทางตรง:การรับประทานน้ำดื่มที่มีเชื่ออหิวาปะปน
สัมผัสอุจจาระ ผู้ป่วยอาเจียนใส่
ทางอ้อม:ใช้สิ่งของร่วมกับผู้ป่วย รับเชื้อจากน้ำดื่ม อาหารที่ไม่สะอาด
อาการ
ปวดท้อง. คลื่นไส้. อาเจียน. ถ่ายเป็นน้ำ
ถ่ายเป็นน้ำรุนแรงไม่มีอาการปวดท้อง
กระหายน้ำมาก ปากคอแห้ง ปัสสาวะน้อยเป็นสีเหลืงเข้ม
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Rectal swab culture
Polymerase Chain Reaction:PCR
การพยาบาล
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ Ringer lactate,Acetar,NSS
Oral Dehydrate Salt
การให้ยาฆ่าเชื้อตามแผนการรักษา
แยกผู้ป่วย. กักผู้สัมผัสโรค
ทำลายเชื้อโรคที่ติดมากับสิ่งขับถ่าย
เตรียมเตียงที่ช่องกลางให้ผู้ป่วยนอนถ่ายได้ง่าย
ภาวะแทรกซ้อน
Pulmonary edema
Acute tubular necrosis
Hypokalemia
Hypoglycemia
Tetany
ลำไส้ไม่ทำงาน
การป้องกัน
ล้างมือให้สะอาด
ดื่มน้ำต้มสุกและสะอาด
รับประทานอาหารสุก
รับประทานผลไม้ปอกเปลือกเอง
ระวังผลิตภัณฑ์เนยนม
Leptospirosis
ระยะฟักตัว 2-20 วัน
การติดเชื้อ Leptospira
สาเหตุการติดต่อ การกินอาหาร ดื่มน้ำปัสสาวะของสัตว์ เดินลุยน้ำ
อาการสำคัญ
ระยะเชื้อเข้ากระเเสเลือด
ปวดศีรษะทันที มักปวดบริเวณหน้าผากหรือหลังตา
ปวดกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง
ไข้สูง เยื่อบุตาแดง
ตัวตาเหลือง ขอแข็ง ความดันต่ำ ตั่อมน้ำเหลือง ตับม้ามโต
ระยะร่างกายสร้างภูมิ
หลังจากมีไข้ 1 wk จะเป็นระยะที่ไข้ลง 1-2 วัน จะกลับมาขึ้นอีก
ปวดศีรษะ ไข้ต่ำๆ คลื่นไส้ อาเจียน
คอเเข็งมีอาการอักเสบที่เยื่อหุ้มสมอง
มีเชื้อออกมาในปัสสาวะ
Severe leptospirosis
มีอาการ 4-9วัน มีอาการดีซ่าน เหลืองมาก ตับโตกดเจ็บ ม้ามโต ไอ มีเสมหะปนเลือด เจ็บหน้าอก หอบเหนื่อย ระบบหายใจและไตวายล้มเหลวเฉียบพลัน
วินิจฉัย
•CBCการตรวจเลือดทั่วไปจะพบว่าเม็ดเลือดขาวเพิ่มบางรายเกร็ดเลือดต่ำ
• ESR เพิ่ม
ตรวจปัสสาวะพบเม็ดเลือดแดง ไข่ขาวรั่ว และน้ำดีในปัสสาวะ
ตรวจการทำงานของตับ SGOT,SGPT สูงข้ึน
ค่า Creatinin, BUN จะเพิ่มข้ึน
การพยาบาล
ให้ยาปฎิชีวะนี่ ยาลดไข้ ยาแก้ปวด
ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน ให้ IV
เมื่อมีความรุนแรงของโรค
ให้ยากันชัก
เกร็ดเลือดต่ำ ให้เลือดหรือน้ำเหลืองแก้ภาวะการเต้าของหัวใจผิดปกติ
แก้ปัญหาตับวาย,ไตวาย
Tetanus
สาเหตุ: ติดเชื้อ Bacteria Clostridium tetani
ระยะฟักตัว: 7-21 วัน
Symptoms
1-7day period,progressive muscle spasms
Restlessness,headachee
Muscle spasm
Breathing muscles loss their power-ventilator
Infection of the airway with in the lung
วินิจฉัย
ตรวจหาระดับ ของ serum antitoxin titer ถ้าพบว่า มีระดับที่มากกว่า 0.01 IU/mL
พบเชื้อ Clostridium tetani จากแผลได้โดยไม่มีอาการของโรค
•spatula test
แต่ในผ้ปู่วยที่เป็นบาดทะยกัจะพบว่าผู้ปู่วยกลับกัดไม้กดลิ้น reflex
การพยาบาล
Control of spasm and autonomic dysfunction with sedation muscle relaxants and paralysis
Wound care with debridement and Iv antibody
Neutralization of unbound tetanospasmin with tetanus immunoglobulin
Scrub Typhus
ติดเชื้อเเบคทีเรียในกลุ่มริกเก็ตเซีย
ระยะฟักตัว: ตั้งแต่ได้รับเชื้อจนกระทั่งเเสดงอาการ 6-20 วัน
พาหะ:?ตัวไรอ่อน หมัด
อาการ
Classical type
ไข้ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว
ต่อมน้ำเหลือง ตับโต
ตาแดง
Mild type
ไข้.ปวดศีรษะ
ปวดเมื่อยตามตัว ตับโต
ตรวจไม่พบ eschar
Subclinical type
มีไข้เล็กน้อย
ปวดศีระ มึนศีรษะบ้าง
การวินิจฉัย
SerologicalTest
Complement-Fixation
Indirect Immunofluorescence Antibody: IFA
Polymerase Chain Reaction: PCR
ภาวะแทรกซ้อน
โรคตับอักเสบ
ปอดอักเสบ
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
เยื้อหุ้มสมองกับสมองอักเสบ
Multi-Organ Failure
Disseminated Intravascular Coagulation
Meliodosis
เป็นการติดเชื้อแบคทีเรีย. Burkholderiapseudomallei
รับเชื้อเข้าสู้ร่างกายโดยการสัมผัสดินหรือ น้ำที่มีการปนเปื้อนผ่านผิวหนัง
ระยะฟักตัว1-21วัน
อาการ
Localized Infection
Localized pain or swelling
Fever
Ulceration, Cellulitis
Abscess
Pulmonary Infection
Cough
Chest pain
High fever
Headache
Anorexia
Bloodstream Infection
Fever
Headache
espiratory distress
Abdominal discomfort
Joint pain
Disorientation
Disseminated Infection
Fever
Weight loss
Stomach or chest pain
Muscle or joint pain
Headache
Seizures
Transmission
Inhalation
Ingestion
Inoculation
Breast milk
Perinatal
Human to Human
การรักษา|พยาบาล
Surgical drainage
ให้ยาปฎิชีวนะ
ให้สารน้ำตามแผนการรักษา
แนวทางการควบคุมเชื้อ
แยกผู้ป่วย
ทำลายเชิ้อ
การกักกัน การให้ภูมิคุ้มกันกับผู้สัมผัสเชื้อ
วัณโรค
การแพร่ของเชื้อโรค Transmission
สภาวะที่เอื้อต่อการติดเชื้อ
จำนวนเชื้อที่อยู่ในอากาศ
ความเข้มข้นของเชื้อ และปริมาณเชื้อ
ระยะเวลาที่อยู่ในห้องที่มีเชื้อโรค
ภูมิคุ้มกันของคนที่สัมผัสโรค
เชื้อที่เป็นสาเหตุ
M. tuberculosiso var hominis
M. bovis
M africanum
M. microti
อาการ
ไข้เบื่ออาหารอ่อนเพลียน้าหนัก ลดครั่นเน้ือครั่นตัว เหงื่อออกกลางคืน
ไอแห้งๆ ไม่มีเสมหะ
ไอเสมหะมีเลือด
การวินิจฉัย
ประวัติการสัมผัสโรค
ตรวจเสมหะ
Tuberculin test
การถ่ายรังสีปอด
RNAandDNA amplification
ผลข้างเคียงการใช้ยา
ระบบทางเดินอาหาร :คลื่นไส้. อาเจียน. เบื่ออาหาร
Drug fever
การออกผื่น
การปฏิบัติตัวเมื่อป่วย
กินยาตามเเพทย์สั่งอย่างสม่ำเสมอ
งดสิ่งเสพติดทุกชนิด
สวมผ้าปิดจมูก
เปลี่ยนผ้าปิดจมูกบ่อยๆ
บ้วนเสมหะลงในภาชนะ
จัดบ้านให้อากาศถ่ายเทสะดวก