Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การอักเสบและการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การอักเสบและการติดเชื้อ
การอักเสบ
พยาธิสรีรวิทยาการอักเสบ
การอักเสบแบบเฉียบพลัน
(Acute inflammation)
การขยายตัวของหลอดเลือด
(Vasodilation)
การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของหลอดเลือดที่เกิดจากฤทธิ์ของสารสื่อกลางการอักเสบต่างๆมีผลเพิ่มการซึมผ่านผนังหลอดเลือด (Increased vascular permeability)
การเคลื่อนที่ของเซลล์เม็ดเลือดขาว
(Leukocytes)
เม็ดเลือดขาวเกาะติดผนังหลอดเลือด(Adhesion)
และเคลื่อนย้ายไปยังที่ที่มีการอักเสบ(Transmigration)
การเคลื่อนที่เข้าใกล้ผนังหลอดเลือด (Margination)
การหมุนไปบนผนังหลอดเลือด (Rolling)
การยึดติดกับผนังเซลล์บุหลอดเลือด (Adhesion)
การเคลื่อนตัวผ่านผนังหลอดเลือด (Transmigration หรือ diapedesis)
การเคลื่อนเข้าหาสิ่งกระตุ้น (Chemotaxis)
การจับกิน (Phagocytosis)
สารสื่อกลางการอักเสบ
(Inflammatory mediators)
กลุ่มวาโส แอคทิฟ เอมิน (Vasoactive amine)
เมแทบอไลต์ของกรดอะราซิโดนิค (Arachidonic acid metabolite)
Platelet-activating factor (PAF)
สารสื่อกลางกลุ่มPlasma protease
ไซโตไคน์ (Cytokine)
ไนตริกออกไซด์ (nitric oxide; No)
ผลลัพธ์ของการอักเสบเฉียบพลัน
การกลับคืนสภาพปกติอย่างสมบูรณ์ (Complete resolution)
การถูกแทนที่ด้วยพังผืด (Fibrosis)
การเกิดหนองฝี (Abscess formation)
การอักเสบดำเนินต่อไปกลายเป็นการอักเสบเรื้อรัง
(Progression to chronic inflammation)
การอักเสบแบบเรื้อรัง
(Chronic inflammation)
Chronic nonspecific inflammation
Chronic granulomatous lnflammation
อาการและอาการแสดงของอักเสบที่พบทางคลินิก
ลักษณะที่พบเฉพาะที่
การอักเสบชนิดที่มีของเหลวสะสม(Serous inflammation)
การอักเสบชนิดที่มีไฟบรินสะสม(Fibrinous inflammation)
การอักเสบเป็นหนอง(purulent or suppurative inflammation)
ฝี(Abscess)
แผล (Ulcer)
ลักษณะที่พบทั่วร่างกาย
ระยะที่1 Acute phase response
ระยะที่2 Alterations in WBCs
การวินิจฉัย
Complete blood count (CBC)
Erythrocyte sedimentary rate (ESR)
C-Reactive Protein (CRP)
สารจำพวก Interleukin
Lipoprotein-associated phospholipase A2 (Lp-PLA2)
การซ่อมแซมเนื้อเยื่อ
(Tissue repair)
กระบวนการซ่อมแซม
การงอกใหม่(Regeneration)
เซลล์ไม่คงตัว(lability cells)
เซลล์คงสภาพ(Stable cells)
เซลล์ถาวร(Permanent or fixed cells)
การหายของแผล(Healing)
ระยะที่มีเลือดออกและการอักเสบ
(Stage of hemorrhage & inflammation)
ระยะการสร้างเนื้อเยื่อเส้นใยหรือระยะงอกขยาย
(Stage of fibroplastic หรือ proliferative phase)
ระยะเนื้อเยื่อเจริญเต็มที่หรือระยะปรับตัว
(Maturational or remodeling phase)
การหายของแผลหรือการสมานของแผล
การหายแบบปฐมภูมิ
(Primary intentoon healing)
การหายแบบทุติยภูมิ
(Secondary intention healing)
การหายแบบทุติยภูมิ
(Tertialy intention healing)
ความผิดปกติหรือภาวะแทรกซ้อน
(complication)ของการซ่อมแซม
การสร้างแผนเป็นไม่แข็งแรงเพียงพอ
การสร้างแผลเป็นมากเกินไป
การรบกวนหรือขัดขวางการทำหน้าที่ของอวัยวะ
การเกิดเนื้องอก
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของแผล
อายุ
ภาวะโภชนาการ
การไหลเวียนของเลือดและการขนส่งออกซิเจน
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย
ความเครียด
ปัจจัยอื่นๆ
การติดเชื้อ(Infection)
การแยกของแผล(Wound separation)
สิ่งแปลกปลอม(Foreign bodies)
ลักษณะของแผล
การเคลื่อนไหว
เทคนิคการเย็บแผลและเทคนิคการทำแผล
การติดเชื้อ(infection)
ชนิดของเชื้อก่อโรค
(Classification of infectious agents)
เชื้อรา(Fungi)
Systemic (deep)mycoses
Subcutaneous mycoses
Cutaneous mycoses
Superficial mycoses
แบคทีเรีย(Bacteria)
Endotoxins
Exotoxins
ไวรัส(Viruses)
พรีออน(Prion)
ระยะของการติดเชื้อ
ระยะที่4 Convalescent period
ระยะที่3 Acute period
Systemic Acute infection
Localized acute infection
ระยะที่2 Prodomal period
ระยะที่1 Incubation pdroid
วงจรการติดเชื้อ
(Chain of infection)
ความไวของบุคคลในการรับเชื้อ
(Susceptible host หรือ vulnerable)
ทางเข้าของเชื้อที่เข้าสู่ร่างกาย
(Portal of entry)
วิธีการแพร่กระจายเชื้อ
(mode of transmission)
ทางออกของเชื้อจากรังโรค
(Portal of exit)
รังโรค (Reservoir)
เชื้อที่เป็นสาเหตุหรือเชื้อก่อโรค
(Infectious agent หรือ causative agent)
ปรสิต(Parasites)
โปรตัวซัว
พยาธิ(Worms or flukes)
พยาธิใบไม้ในตับ
พยาธิตัวตืด
พยาธิตืดหมู
(tarnishing solium หรือ pork tapeworm)
พยาธิตืดวัว
(Teania saginata หรือ beef tapeworm)
ภาวะไข้
(Fever หรือ pyrexia)
ภาวะที่อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้นกว่าปกติประมาณ1-4องศาเซลเซียส
อุณหภูมิของร่างกาย
อุณหภูมิระหว่าง37.5-38.4องศาเซลเซียส
ไข้ต่ำ(Low grade fever)
อุณหภูมิระหว่าง38.5-39.4องศาเซลเซียส
ไข้ปานกลาง(Moderate fever)
อุณหภระหว่าง39.5-40.5องศาเซลเซียส
ไข้สูง(High grade fever)
อุณหภูมิตั้งแต่40.5องศาเซลเซียส
ไข้สูงมาก(Hyperpyrexia)
สารที่ทำให้เกิดอาการไข้
Pyrogens
Exogenous pyrogens
Endogenous pyrogens
กลไกการเกิดไข้มี5ขั้นตอน
ขั้นตอนที่1 เซลล์ที่ได้รับบาดเจ็บหรือถูกทำลาย
ปล่อยEndogenous pyrogens ออกมา
ขั้นตอนที่2 มีการตั้งค่าอุณหภูมิร่างกายใหม่ที่
Hypothalamic thermoregulatory center โดยสารสื่อนำหรือ Toxins จาก Pyrogens
ขั้นตอนที่3 ร่างกายตอบสนองต่ออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น
ขั้นตอนที่4 อุณหภูมิร่างกายค่อยๆเพิ่มขึ้นตอบสนอง
ต่อจุด Set point ใหม่ของร่างกาย
ขั้นตอนที่5 การตอบสนองของร่างกายเพื่อลดอุณหภูมิลง
การตอบสนองของร่างกายเมื่อเกิดไข้
Prodromal stage
อาการเริ่มแรกไม่รุนแรง
อ่อนเพลีย
รู้สึกไม่สุขสบาย
ปวดศรีษะ
Chill stage
อาการรุนแรงขึ้น
ขนลุก
(Piloerection)
ผิวหนังซีด
รู้สึกหนาว
(Clod)
อาการสั่น
(Chill or shiver ing)
Flush stage
ผิวร่างกายเริ่มแดง(Flush) และอุ่น
Defervescence stage
เป็นระยะของการมีไข้สูง(Flush)