Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาองค์กร (Organization Development Tools),…
เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาองค์กร
(Organization Development Tools)
การจัดการคุณภาพโดยรวม
(Total quality management : TQM)
หมายถึง การจัดระบบและวินัย ในการทํางาน เพื่อป้องกันความผิดพลาดเสียหาย และมุ่งสร้างคุณค่า (value) ในกระบวนการทํางาน
ความสัมพันธ์ของ TQM
ความสําคัญกับลูกค้า(Customer Oriented) การสร้างผลงานที่มีคุณภาพให้กับลูกค้าไม่ใช่เพื่อเอาใจเจ้านาย เท่านั้น มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและสมาชิกทุกคนต้องมีส่วนร่วม
วัตถุประสงค์
ลดต้นทุน พัฒนาคุณภาพ สร้างความพอใจและความซื่อสัตย์ของลูกค้า
หลัก : TQM
1.การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง(Continuous Improvement )
2.การมอบหมายงานแก่พนักงาน(Employee Empowerment)
3.การกําหนดมาตรฐานเทียบเคียง (Benchmarking)
4.การจัดส่งสินค้าแบบทันเวลาพอดี(Just in time : JIT)
5.Taguchi technique ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ตั้งแต่ช่วงที่มีการออกแบบ
6.ความรู้ในการใช้เครื่องมือ(Knowledge of TQM tools)
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
(Change management)
การจัดการณ์กับเหตุการณ์ สถานการณ์ หรือลักษณะที่ต่างไปจากเดิมให้ดีขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น
ขั้นตอนในการบริหารการเปลี่ยนแปลง
การวางแผนการเปลี่ยนแปลง (Planning for Change)
การนําแผนการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ (Implementing Change)
2.1 การกําหนดกลยุทธ์ในการนําแผนการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ
2.2 การสื่อสารความเข้าใจถึงแผนการเปลี่ยนแปลง
2.3 การจัดแบ่งงาน
2.4 การจัดกําลังคน
2.5 การจัดระเบียบวิธีการดําเนินงาน
2.6 การพัฒนาบุคคล
2.7 การทําให้การเปลี่ยนแปลงกลายเป็แบบแผนวัฒนธรรมขององค์การ
2.8 การจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรในการบริหารการเปลี่ยนแปลงนั้น
การติดตามประเมินผลและรักษาผลการเปลี่ยนแปลง (Evaluating and Maintaining Change)
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
(Best practice)
วิธีการปฏิบัติที่ทําให้องค์กรประสบความสําเร็จ หรือ คือการปฏิบัติที่ทําให้องค์กรสู่ความเป็นเลิศ โดยมีคุณลักษณะที่สําคัญ คือ มีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศอย่างเห็น ได้ชัด
ขั้นตอนการทําวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
กระตุ้นและเปิดรับความคิด
ดำเนินการตามขั้นตอน การนำเสนอความคิด
ประเมินความคิด และให้ข้อมูลย้อนกลับ
นำความคิดไปปฏิบัติ
ทบทวนเพื่อขยายผลความคิด
ยกย่อง ชมเชย และประกาศความสำเร็จ
วัดผล ทบทวน และปรับปรุง
การบริหารที่ยึดวัตถุประสงค์เป็นตัวกําหนด
(MBO : Management by objective)
หมายถึง การวางแผนเพื่อจัดองค์การที่หัวหน้าและลูกน้องมีบทบาทร่วมกันในการกําหนดเป้าหมายและขอบเขตของงาน เพื่อให้บรรลุผลสําเร็จตามต้องการ
วัตถุประสงค์
กําหนดวัตถุประสงค์ (Setting of objectives) ต้องชัดเจน
ปรับโครงสร้างขององค์การ (Revision of organization structure)
กําหนดจุดตรวจสอบ(Estabishing check points)
การประเมินการปฏิบัติงาน(Appraisal of performance)
ประโยชน์แก่องค์การ
เป็นเครื่องมือในการวางแผนเป็นวิธีการนําไปสู่การกระจายอํานาจ กระตุ้นให้ เกิดการจูงใจในการทํางานและเป็นเครื่องมือในการประเมินผลและควบคุมงาน
Benchmarking
กระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) กับองค์กรอื่นภายใต้กฎกติกาสากลโดยมีแนวคิดว่า องค์กรใดองค์กรหนึ่งนั้นไม่ได้เก่งไปทุกเรื่อง มีองค์กรที่เก่งกว่าในบางเรื่อง
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์
(RESULT BASED MANAGEMENT-RBM)
วัตถุประสงค์
คือทํางานให้ เสร็จตามกําหนด เกิดผลดีต่อหน่วยงานและส่วนราชการใช้ทรัพยากรของทางราชการให้คุ้มค่า เสมือนหนึ่ง การใช้ทรัพยากรของตนเองเน้นการทํางานโดยึดผลลัพธ์เป็นหลัก มีการวัดผลลัพธ์ และค่าใช้จ่ายตาม
การบริหารโดย มุ่งเน้นผลการปฏิบัติงานหรือผลสัมฤทธิ์เป็นหลัก
ระบบควบคุมคุณภาพ/กลุ่มคุณภาพ
(Quality control circle:QCC,QC)
มีต้นกําเนิดจากญี่ปุ่น เพื่อแสวงหาวิธีการ ที่เหมาะสม เป็นธรรมชาติของมนุษย์ เคารพศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์จูงใจให้ผลิตผลงานอย่างมีคุณภาพ มี ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน
หมายถึง การดําเนินการ โดยคนกลุ่มน้อย ดําเนินกิจกรรมเพิ่มพูนคุณภาพโดยตนเองอย่างอิสระ
วัตถุประสงค์
เพิ่มขีดความสามารถในการควบคุมงานและภาวะผู้นําของ first line supervisor โดยการให้พัฒนาตนเองทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขวัญกําลังใจ และควบคุมคุณภาพ
Deming cycle
การวางแผน (Plan : P)
การปฏิบัติ (DO:D)
การตรวจสอบ (Check : C)
การแก้ไขปรับปรุง (Act : A)
องค์กรแห่งการเรียนรู้
(Learning organization : LO)
องค์กรที่มีทักษะ มีความสามารถ ในการแสวงหา การสร้างสรรค์ การถ่ายทอดความรู้ และทําความเข้าใจกับความรู้ใหม่ได้อย่างลึกซึ้ง จนสามารถนําความรู้มาปรับปรุงพฤติกรรมของคนในองค์กร
วินัย 5 ประการ: Peter Senge
Personal Mastery ความเป็นเซียนส่วนบุคคล
Mental Model การยึดติดในใจ อคติ ความฝังใจ โลกทัศน์หรือความคิดความเข้าใจ
Share vision ฝันเดียวกัน สมาชิกในองค์การมีการกําหนดเป้าหมาย (Goals) ค่านิยม (Value)การมีวิสัยทัศน์ (vision) พันธกิจ (Mission) ร่วมกัน
Team learning การเรียนรู้เป็นทีม มีการแลกเปลี่ยน ความรู้ ความคิดเห็น ประสบการณ์ระหว่างสมาชิกในองค์กรอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
System thinking ระบบการคิดของคนในองค์กร การคิดอย่างเป็นระบบ สิ่งต่าง
การบริหารจัดการความรู้
(Knowledge Management : KM)
นับเป็นทรัพย์สินที่สําคัญขององค์กรธุรกิจ ไม่ได้ เป็นที่ดินหรือสิ่งที่จับต้องได้เป็นความรู้ ความเชี่ยวชาญของบุคลากรในองค์กรนั้น การดึงบุคลากรที่มีคุณภาพ ให้อยู่กับองค์กรนาน ๆ
ความรู้สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท
Tacit Knowledge เป็นทักษะจากประสบการณ์ไม่สามารถบรรยายเป็นถ้อยคํา หรือสูตรซ้อนเร้น ฝังลึกขึ้นกับความเชื่อทักษะในการ กลั่นกรองความรู้พัฒนาและแบ่งปันกันได้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน
Explicit Knowledge บรรยาย/ถ่ายทอดเป็นทฤษฎี การแก้ไขปัญหา คู่มือฐาน ข้อมูลทุกคนสามารถเข้าถึงได้
กิจกรรมที่ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของ KM
การพัฒนาฐานข้อมูล ลูกค้า ปัญหาที่พบบ่อย และแนวทางแก้ไข การจัดกระบวนการกลุ่มให้คนต่างพื้นที่ แก้ปัญหาร่วมกัน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award :PMQA)
วัตถุประสงค์
การนําองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์
ทํางานโดยมุ่งผลลัพธ์เป็นสําคัญ
มีความรับผิดชอบต่อสังคม ให้ความสําคัญกับประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ปรับปรุงระบบบริหารจัดการให้มีความยืดหยุ่นคล่องตัว
พัฒนาการบริหารคนและการพัฒนาคน มีความคิดริเริ่มและเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ตัดสินใจโดยอาศัยข้อมูลสารสนเทศ
นางสาวทอฝัน จันทร์ที เลขที่ 30 (603101030)