Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แบบของการวิจัย, นางสาวพัชราภรณ์ ถิ่นชุมทอง รุ่น 36/2 เลขที่ 4 รหัสนักศึกษา…
แบบของการวิจัย
ประเภทของการวิจัย
แบ่งตามความสามารถในการควบยคุมตัวแปร
quasi experimental research
ควบคุมได้บางส่วน
naturalistic research
ไม่ต้องควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน ปล่อยเป็นไปตามธรรมชาติ
นักวิจัยจะทำการอภิปรายผลที่เกิดขึ้น
experimental research
ควบคุมตัวแปรที่แทรกซ้อนได้เต็มที่
แบ่งตามระเบียบวิธีการวิจัย
experimental research
มีการทดลอง
expost facto research
ศึกษาจากผลไปหาเหตุ
เริ่มจากกำหนดผลหรือตัวแปรแล้วค่อยค้นหาสาเหตุ
descriptive research
ไม่มีการทดลอง
ศึกษาสิ่งที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
survey research
หาคำตอบเกี่ยวกับตัวแปร
จำนวน
คุณลักษณะ
historical research
ศึกษาอดีตที่เกิดขึ้น และปัจจุบันที่เป็น
หาความสัมพันธ์ตัวแปรบางตัวแปรอดีตกับปัจจุบัน
เพื่อทำนายอนาคต
evaluative research
อาจใช้ CIPP
ประเมิน
context
บริบทของงานที่ประเมิน
ความสอดคล้องวัตถุประสงค์กับปัญหา
input
ความเพียงพอปัจจัยนำเข้า
บุคลากร
อุปกรณ์
งบประมาณ
process
ความครบถ้วนของกระบวนการ
ปัญหาที่เข้ามาแทรก
prpduct
ผลที่ออกมา
แบ่งตามวัตถุประสงค์และวิธีการเสนอข้อมูล
explanatory research
ไม่มีการทดลอง
หาปัจจัย
ที่มีความสัมพันธ์
ที่มีผลต่อตัวแปร
เพื่ออธิบายปัจจัยที่มีอิทผลต่อตัวแปร
predictive research
บอกสิ่งที่ยังไม่เกิด คาดไว้ว่าจะเกิด
descriptive research
มีการเปรียบเทียบตัวแปร
ไม่มีการทดลอง
diagnostic research
เพื่อ
ค้นหาปัญหา
ค้นหาสาเหตุ
เป็นประโยชน์ในการแก้ไขต่อไป
exploratory research
คำนวณหาคำตอบที่เกี่ยวกับตัวแปรที่ศึกษา
จำนวน
ร้อยละ
มาก-น้อย
สูง-ต่ำ
ไม่มี
เปรียบเทียบ
หาความสัมพันธ์
ทดลอง
แบ่งตามวิธีการเก็บ
Sample survey research
เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
Census research
เก็บรวบรวมข้อมูลจากทุกๆหน่วยของประชากร
Case study
ศึกษาเฉพาะที่เป็นกรณี
ศึกษาเรื่องที่สนใจในขอบเขตจำกัดหรือแคบๆ
ใช้จำนวนตัวอย่างไม่มากนัก
Observation research
เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสังเกต
Panel study
เก็บข้อมูลเป็นระยะๆ ดูการเปลี่ยนแปลง
ศึกษาแบบต่อเนื่อง
ช่วยให้เข้าใจและทราบการเปลี่ยนแปลง
Documentary research
เก็บรวบรวมข้อมูลจาก
รายงาน
จดหมายเหตุ
เอกสาร
ศิลาจารึก
Experimental research
เก็บข้อมูลจากการทดลอง
มีตัวแปรตามวัตถุประสงค์
แบ่งตามประโยชน์ของการนำผลการวิจัยไปใช้
applied research
เพื่อนำผลไปใช้ในการทำงานจริง
action research
มุ่ง
พัฒนางาน
แก้ไขข้อบกพร่องของงาน
ผลการวิจัยมีความเฉพาะเจาะจง
basic or pure research
มุ่งสร้าง
สูตร
กฎ
ทฤษฎี
เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษา
แบ่งตามลักษณะข้อมูล
qualitative research
การวิจัยเชิงคุณภาพ
mixed methods
การวิจัยแบบผสม
แบบคู่ขนาน
แบบตามลำดับก่อน-หลัง
quantitative research
การวิจัยเชิงปริมาณ
กรอบแนวคิด
Theoretical framework
ครอบคลุมทุกตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
เขียนเป็น diagraam
แสดงความสัมพันธ์ เชื่อมโยงของตัวแปรตามหลักการทางทฤษฎีที่มีอยู่
Conceptual framework
ลักษณะ
เขียนเฉพาะตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับวิจัย
ใช้คำบรรยายประกอบแผนภาพ
แสดงตัวแปรไม่ครบทุกตัว
ตัวแปร
อธิบายความสัมพันธ์ สอดคล้องเกี่ยวข้อง
เหตุผลที่ไม่ได้เขียนตัวแปรครบทุกตัว
การเขียน
ทำให้อยู่ใใน inclusion criteria
ทำให้มีตัวแปรควบคุม
เปลี่ยนชื่อเรื่อง
กำหนดขอบเขตการวิจัย
วิธีการเขียน
สรุปและเขียนประเด็นความรู้
ครอบคลุม ทันสมัย
เอกสาร
วรรณกรรม
มีเกณฑ์ช่วยในการอ่าน
ข้อบกพร่องที่พบบ่อย
เขียนเป็นกระบวนการวิจัย
ใช้ theoretical concept มาเขียน
ทบทวนวรรณกรรมไม่ดี comment ไม่ได้
แสดงความสัมพันธ์ไม่ถูกต้อง
Conceptualization
ได้เป็นกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี
ใช้ความรู้ที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎี
งานวิจัย
สร้างมโนทัศน์จากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริงตามธรรมชาติ
ตัวอย่าง QUALITATIVE STUDY
Phenomenology study
ใช้ประสบการณ์ของผู้ให้ข้อมูล
Grounded theory
สร้างทฤษฎีจากข้อมูลที่พบ
Ethnographic study
เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องที่ศึกษา
ใช้เวลาหรือฝังตัวอยู่ในพื้นที่ที่ศึกษา
งานวิจัยอื่นๆที่ควรรู้จัก
R2R (routine to research)
ทำงานประจำตามปกติ พบปัญหา/จุดอ่อนในการทำงาน
หาวิธีแก้ไขปัญหา
เปรียบเทียบผลก่อน-หลัง
PAR (participatory action research)
มักทำเพื่อพัฒนาชุมชน
คนในชุมชนร่วมทำวิจัย
เริ่มตั้งแต่กำหนดปัญหาไปจนจบ
เกิดประโยชน์แก่ชุมชน
เป็นการพัฒนาอย่างแท้จริง
R&D (research and development)
วิจัยหลายขั้นตอน
เริ่มจากทำ research
ดูสถานการณ์เกี่ยวกับปัญหา
นำผลของขั้นแรกมาออกแบบสิ่งที่ตอบสถานการณ์ปัญหานั้น
นางสาวพัชราภรณ์ ถิ่นชุมทอง รุ่น 36/2 เลขที่ 4 รหัสนักศึกษา 612001084