Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลอนามัยสิ่งแวดล้อม, นางสาว ธิดารัตน์ มากประดิษฐ์ เลขที่ 22…
การพยาบาลอนามัยสิ่งแวดล้อม
วัตถุประสงค์
อธิบายแนวคิด หลักการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้
อธิบายปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อม สาเหตุและผลกระทบได้
อธิบายเกี่ยวกับกฎหมายและพระราชบัญญัติ ที่เกี่ยวข้องกับงานอนามัยสิ่งแวดล้อมได้
อธิบายการจัดการและควบคุมปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้
บอกบทบาทของพยาบาลอนามัยชุมชนในงานอนามัยสิ่งแวดล้อมได้
ประยุกต์กระบวนการพยาบาลในการจัดการปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้
แนวคิด หลักการอนามัยสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ (Natural environment)
สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น (Man-made environment)
สิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ (Physical environment)
สิ่งแวดล้อมทางด้านเคมี(Chemical environment)
สิ่งแวดล้อมทางด้านชีวภาพ (Biological environment)
สิ่งแวดล้อมทางด้านสังคม (Social environment)
แนวคิดการดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมที่ไม่สมดุล เกิดจากมลพิษที่กระทบต่อสุขภาพ
ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ
การป้องกันและการแก้ไขปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมกันทุกฝ่าย
อนามัยสิ่งแวดล้อม (Environmental health)
งานอนามัยสิ่งแวดล้อม
มุ่งเน้นการป้องกันที่เกิดจากสิ่งแวดล้อม
มุ่งรักษาสิ่งแวดล้อมให้มีคุณภาพเหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์
ป้องกันโรคไม่ให้เข้าสู่ร่างกายมนุษย์
ความสำคัญของอนามัยสิ่งแวดล้อม
ลดอัตราป่วย และอัตราตาย
สร้างเสริมสุขภาพ
สร้างสุนทรียภาพและความเจริญในชุมชน
ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน
ขอบเขตของงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
การจัดหาน้ำสะอาดเพื่ออุปโภคบริโภค (water supply)
การบำบัดน้ำเสียและการควบคุมมลพิษน้ำ (Wastewater treatment)
การกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล (Solid waste management)
การควบคุมสัตว์อาร์โทร ปอดและสัตว์กัดแทะหรือการควบคุมพาหะนำโรค (Vector and rodent control)
การควบคุมมลพิษทางดิน (Solid pollution)
การสุขาภิบาลอาหาร (Food hydiene)
การควบคุมมลพิษทางอากาศ (Air pollution)
การป้องกันอันตรายจากรังสี (Radioactive health)
อาชีวอนามัย (Occupational health)
การควบคุมมลพิษทางเสียง (Noise pollution)
การสุขาภิบาลที่พักอาศัย (Housing sanitation)
การผังเมือง (Urban planning)
การอนามัยสิ่งแวดล้อมด้านการคมนาคม (Transpotation)
การป้องกันอุบัติเหตุ (Accident prevention)
การสุขาภิบาลสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ (Recreation sanitation)
การดำเนินงานสุขาภิบาลเมื่อเกิดโรคระบาด เหตุฉุกเฉิน ภัยพิบัติ และการอพยพย้ายถิ่น (Emergency case)
มาตรการป้องกันเพื่อให้สิ่งแวดล้อมโดยทั่วไปปราศจากความเสี่ยงและอันตราย (Environment measurement)
การอนามัยสิ่งแวดล้อมที่สำคัญในประเทศไทย
การจัดหาน้ำสะอาดเพื่อบริโภคและอุปโภค (water supply)
การบำบัดน้ำเสียและการควบคุมมลพิษน้ำ (Wastewater treatment)
การกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล (Solid waste management)
การควบคุมสัตว์อาร์โทร ปอดและสัตว์กัดแทะหรือการควบคุมพาหะนำโรค (Vector and rodent control)
การสุขาภิบาลอาหาร (Food hydiene)
การควบคุมมลพิษทางอากาศ (Air pollution)
การสุขาภิบาลที่พักอาศัย (Housing sanitation)
สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อม
การเพิ่มของประชากร
การพัฒนาและการใช้เทคโนโลยี
จากการกระทำของมนุษย์โดยตรง
ผลกระทบต่อสุขภาพ
ได้รับเชื้อโรคหรือสิ่งที่ทำให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ
ได้รับเชื้อหรือสารพิษที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกรรมพันธุ์
ภูมิต้านทานโรคต่ำลง
เกิดความเดือดร้อนรำคาญและไม่สะดวกสบาย
โรคต่างๆที่มีอยู่แล้วในพื้นที่เกิดการระบาดขึ้น
เกิดผลเสียต่อสุขภาพจิต
ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เป็นปัญหาและพบได้บ่อย
มลพิษทางน้ำ
สาเหตุที่ทำให้น้ำเสื่อมโทรม
น้ำเสียจากชุมชน
น้ำเสียจากอุตสาหกรรม
น้ำเสียจากเกษตรกรรม
น้ำเสียจากสถานที่กำจัดมลูฝอย
น้ำเสียจากแหล่งต่างๆ เช่นการคมนาคมขนส่ง
ผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางน้ำ
โรคหรือความเจ็บป่วยที่มีในน้ำสื่อในการแพร่กระจาย
โรคหรือความเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากการขาดแคลนน้ำสะอาด
โรคเนื่องมาจากเชื้อโรคหรือสัตว์นำโรคที่มีวงจรชีวิตอยู่ในน้ำ
โรคหรือความเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากแมลง เป็นพาหะนำโรค
มลพิษทางอากาศ
ผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ
ผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ
ฝุ่นขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน จะรอดจากการกรองเข้าไปถึงปอดได้
ฝุ่นขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน สามารถเข้าไปถึงถุงลมปอด
ขยะและของเสียอันตราย
ผลกระทบต่อสุขภาพจากขยะและของเสียอันตราย
การแพร่กระจายของเชื้อโรคและสัตว์ที่เป็นพาหะเช่น หนู แมลงสาบ แมลงวัน
น้ำเสียจากขยะมูลฝอยมีความสกปรกและมีความเป็นกรด
ขยะมูลฝอยก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ
ก่อให้เกิดความรำคาญ กินเหม็น มีแมลงมาอาศัย ก่อความรำคาญ ทัศนียภาพขาดความสวยงาม
มลพิษทางดิน
ดินเป็นแหล่งรองรับสารพิษ
ดินเป็นพิษ
ดินเป็นมลสาร ที่ก่อให้เกิดปัญหามลพิษ
กระบวนการพยาบาลในการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม
การประเมินภาวะสิ่งแวดล้อม (Environment Assessment)
การวินิจฉัยปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environment Diagnosis)
การวางแผน (Planning)
การปฎิบัติการอนามัยสิ่งแวดล้อม (Environment Health lmplementation)
การประเมินผล (Environment Health Evaluation)
การจัดการและควบคุมปัญหาสิ่งแวดล้อม
การจัดหาน้ำสะอาดเพื่อบริโภคและอุปโภค (water supply)
คุณภาพของน้ำเพื่อบริโภค บริโภค
คุณภาพลักษณะทางกายภาพ
คุณลักษณะทางเคมี
คุณลักษณะทางชีวภาพ
แหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค และบริโภค
น้ำใต้ดิน
น้ำฝน
น้ำผิวดิน
การปรับปรุงคุณภาพ/การจัดหาน้ำสะอาด
การปรับปรุงคุณภาพน้ำด้านชีวภาพ
การต้ม
การปรับปรุงคุณภาพน้ำทางกายภาพ
การใช้ตะเเกรง การกรอง การตกตะกอน การกลั่น การเติมอากาศและการลดอากาศ การผสมเร็วและการรวมตะกอน
การปรับปรุงคุณภาพน้ำทางเคมี
การสร้างตะกอน การดูดซับ การกำจัดความกระด้างของน้ำ
การบำบัดน้ำเสียและการควบคุมมลพิษน้ำ (Wastewater treatment)
ลักษณะของน้ำเสียที่ เป็นมลพิษ
ลักษณะทางกายภาพ
สี อุณหภูมิ กลิ่น
ลักษณะทางเคมี
สารอินทรีย์ ซีโอดี ก๊าซ
ลักษณะทางชีวภาพ
ปริมาณโคลิฟอร์มทั้งหมด แบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์ม ปริมาณจุลินทรีย์ทั้งหมด
การบำบัดน้ำเสีย
การบำบัดน้ำเสียโดยวิธีทางกายภาพ
การกรองด้วยตะแกรง การทำให้ลอย การตัดย่อย รางดักกรวดทราย การปรับสภาพการไหล การตกตะกอน
การบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีทางเคมี
การตกตะกอนโดยใช้สารเคมี การทำให้เป็นกลาง การทำลายเชื้อโรค
การกำจัดน้ำที่ใช้แล้วในชุมชน
การกำจัดโดยไม่ใช้กรรมวิธี
การปล่อยทิ้งบนพื้นดิน
การกำจัดโดยใช้กรรมวิธี
การปรับปรุงสภาพขั้นแรก การปรับปรุงสภาพคันที่สอง การกำจัดตะกอน
การกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล (Solid waste management)
ประเภทของขยะมูลฝอย
ขยะมูลฝอยเปียก
ขยะมูลฝอยแห้ง
ขยะมูลฝอยอันตราย
การเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย
ถังใส่ขยะ เช่น ระบบถังเดียว ระบบทั้งคู่ ระบบถัง 3ใบ
ขยับเดี๋ยวไม่ควรเก็บไว้เกินกว่า 24 ชั่วโมง
ถังขยะ
การเก็บและกำจัดขยะในชุมชน
รถและอุปกรณ์บรรทุกขยะมูลฝอย
การกำจัดขยะมูลฝอย
การคัดแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด
การเก็บรวบรวมมูลฝอยใส่ภาชนะ แล้วใส่หรือยานพาหนะและเพื่อขนส่งไปกำจัด
การเก็บและขนส่งมูลฝอยไปยังสถานที่กำจัด
การแปรสภาพมูลฝอย
การกำจัดหรือทำลาย เช่น การทำปุ๋ย การเผาด้วยเตา
วิธีการกำจัดขยะมูลฝอย
การทิ้งหรือถมที่ เช่น การทิ้งบนพื้นดิน การทิ้งทะเล
การเผา เช่น การเผากลางแจ้ง การเผาด้วยเตาเผาที่ถูกวิธี
การฝัง เช่น การฝังธรรมดา การฝังกลบที่ถูกหลักสุขาภิบาล
การนำขยะไปให้สัตว์เลี้ยง
การหมักขยะมูลฝอยทำปุ๋ย
การนำกลับมาใช้ใหม่
หลักการเลือกวิธีกำจัดขยะมูลฝอย
ลักษณะและปริมาณของขยะมูลฝอย
สถานที
ค่าใช้จ่ายในการลงทุน
ค่าใช้จ่ายในกระบวนการกำจัด
การนำผลผลิตจากการกำจัดขยะมูลฝอยไปใช้ประโยชน์
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
การกำจัดสิ่งปฏิกูล
คือ ของเสียที่ปล่อยหรือขับถ่ายออกมาจากร่างกายมนุษย์
ระบบบำบัด และการกำจัดสิ่งปฏิกูล
ระบบที่นำมาใช้ในการเปลี่ยนสภาพของเสีย ให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัยจากการเกิดโรคแล้วจึงกำจัดทิ้งหรือใช้ประโยชน์อย่างอื่น
หลักในการกำจัด
ไม่ให้ปนเปื้อนผิวดิน
ไม่ให้ปนเปื้อนลงสู่แหล่งน้ำผิวดิน
ไม่ให้ปนเปื้อนลงสู่แหล่งน้ำใต้ดิน
ไม่ให้แมลงหรือสัตว์เข้าถึงได้
ส่วนประกอบของส้วม
ส่วนที่เก็บกักและกำจัดสิ่งปฏิกูล คือ หลุมส้วม พื้นส้วม โถส้วม
ตัวเรือนส้วม
ประเภทของส้วม
ระบบที่ใช้น้ำขับเคลื่อน เช่น ส้วมซึม ส้วมถังเกรอะ
ระบบที่ไม่ใช้น้ำขับเคลื่อน เช่น ส้วมหลุม ส้วมหลุมตัน ส้วมถังเท ส้วมเคมี
การกำจัดขั้นสุดท้าย
การฝังกลบ
การย่อยสลาย
การควบคุมสัตว์อาร์โทร ปอดและสัตว์กัดแทะหรือการควบคุมพาหะนำโรค (Vector and rodent control)
แมลงและสัตว์ นำโรคมาสู่มนุษย์
นำโรคโดยตรง เช่น ยุงนำเชื้อ ไข้มาลาเรีย ใครเลือดออก
นำโรคโดยการเป็นสื่อสัมผัส เช่น แมลงวัน แมลงสาบ เป็นพาหะนำโรคอุจจาระร่วง
โรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ
วิธีการควบคุมยุง
การควบคุมแหล่งเพาะพันธ์
การระบายน้ำ
การถมที่
การให้สุขศึกษาแก่ประชาชน
การควบคุมยุงตามระยะต่างๆ
ระยะไข่
ขัดล้างตามผิวภาชนะที่น้ำขัง
ระยะลูกน้ำและตัวโม่ง
ปิดฝาภาชนะเก็บน้ำให้มิดชิด
ภาชนะที่ปิดฝาไม่ได้ใส่ทรายอะเบท 10 กรัมต่อน้ำ 100 ลิตร หรือใส่ปลาหางนกยูง 2-10 ตัว
เก็บ ทำลายวัสดุและภาชนะ
ใส่เกลือ 1/2 ช้อนชา น้ำส้มสายชู 2 ช้อนชา หรือผงซักฟอก1/2 ช้อนชา ในถ้วยรองขาตู้ เปลี่ยนน้ำใหม่และใส่น้ำใหม่ทุกเดือน
เทน้ำเดือดลงในถ้วยรองขาตู้ ทุก 7วัน เพื่อฆ่าลูกน้ำ
เปลี่ยนน้ำเเจกัน เธน้ำขังอยู่ในจานรองกระถางต้นไม้ทุก 7วัน
ใช้สารเคมีกำจัดลูกน้ำ เช่น น้ำมันก๊าด
ระยะตัวเต็มวัยหรือยุง
พ่นสารเคมี การใช้กับดักยุง การป้องกันไม่ให้ยุงกัด
การควบคุมแมลงวัน
ภายในอาคารและที่พักอาศัย
กำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล การใช้กลวิธีทางกายภาพ การใช้วิธีทางเคมี
ภายในชุมชน
บำรุงรักษาความสะอาดสถานที่ต่างๆ กำจัดสิ่งปฏิกูลที่ดีถูกหลักสุขาภิบาล กำจัดขยะมูลฝอยในชุมชนให้ถูกต้อง บำบัดและกำจัดน้ำเสียในชุมชนที่ถูกต้อง
การควบคุมด้วยกลวิธีต่างๆ
ใช้กล้องดักแมลงวัน
ใช้กาวดักแมลงวัน
การปรับหรือตีแมลงวันโดยใช้ไม้ตีแมลงวัน
การควบคุมแมลงสาบ
การป้องกันไม่ให้แมลงสาบเข้าสู่ตัวอาคาร
ใช้ตะแกรงหรือติดมุ้งลวดตามประตู เก็บกวาดบริเวณบ้านให้สะอาด อุดช่องว่างหรือรอยแยกที่จะเข้าสู่ตัวอาคาร
การควบคุมแมลงสาบภายในอาคาร
ซ่อมแซมรอยแตกภายในอาคารหรือตามท่อน้ำประปาเพื่อทำลายแหล่งที่อยู่อาศัยของแมลงสาบ
การควบคุมหนู
การควบคุมป้องกันหนูในที่พักอาศัย
ใช้กรงดักหนู
การควบคุมป้องกันหนูและชุมชน
กำจัดหนูตามท่อระบาย
การสุขาภิบาลอาหาร (Food hydiene)
คือ การจัดการและควบคุมอาหาร ภาชนะ อุปกรณ์ ผู้สัมผัสอาหาร และสภาพแวดล้อมที่เกี่ยว ข้องในทุกกิจกรรม เพื่อให้ อาหารสะอาด ปลอดภัยจากเชื้อโรค
สถานที่ประกอบอาหารและจำหน่ายอาหาร
อาหาร น้ำ น้ำแข็ง เครื่องดื่ม
ภาชนะอุปกรณ์
การรวบรวมขยะและน้ำโสโครก
ห้องน้ำ ห้องส้วม
การควบคุมมลพิษทางอากาศ (Air pollution)
คือ สภาวะการณ์ที่บรรยากาศกลางแจ้งมีสิ่งเจือปน เช่น ฝุ่นละออง ก๊าซต่างๆ ละออง ไอ กลิ่นควัน
การสุขาภิบาลที่พักอาศัย (Housing sanitation)
คือ การจัดการและควบคุมดูแลที่อยู่อาศัยให้สะอาดถูกสุขลักษณะ
ความต้องการพื้นฐานทางด้านร่างกาย
การระบายอากาศ
เสียงรบกวบ
แสงสว่าง
ความต้องการพื้นฐานทางด้านจิตใจและสังคม
ความเป็นส่วนตัว
ความปลอดภัย
มีพื้นที่ว่างพอที่จะอยู่อาศัย พักผ่อนและออกกำลังกาย
การตั้งบ้านเรือนอยู่ในที่ที่ห่างไกลจากบริเวณที่มีสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม
ที่อยู่อาศัยที่สามารถทำความสะอาดได้ง่าย เป็นระเบียบเรียบร้อย
การป้องกันโรคติดต่อ
การป้องกันอุบัติเหตุ
อุบัติเหตุจากการพลัดตกหกล้ม
อุบัติเหตุจากอัคคีภัย
อุบัติเหตุจากไฟฟ้า
พระราชบัญญัติที่เกี่ยวกับงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งปีพ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ต่อมามีการแก้ไขปรับปรุงเป็นพระราชบัญญัติการสาธารณสุข(ฉบับที่2)พ.ศ. 2550
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลในงานอนามัยชุมชน
เป็นผู้ให้ความรู้และคำแนะนำ (Educator)
เป็นผู้ให้คำปรึกษา (Counselor)
เป็นผู้ประสาน (Coordinator)
เป็นผู้บริหารจัดการ (Manager)
เป็นผู้ดำเนินการวิจัย (Researcher)
เป็นผู้นำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (Leader or change agent)
บทบาท 4 มิติ
การป้องกัน
การปกป้องคุ้มครอง
การควบคุม
กำกับ ทบทวน
นางสาว ธิดารัตน์ มากประดิษฐ์
เลขที่ 22 รหัสนักศึกษา 611001402378