Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การอักเสบและการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การอักเสบและการติดเชื้อ
การอักเสบ (Inflammation)
พยาธิสรีรวิทยาการอักเสบ
การอักเสบเฉียบพลัน (Acute inflammation)
การขยายตัวของหลอดเลือด (Vasodilation)
การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของหลอดเลือดที่เกิดจากฤทธิ์ของสาร สื่อกลางการอักเสบต่าง ๆ มีผลเพิ่มการซึมผ่านผนังหลอดเลือด (Increased vascular permeability)
การเคลื่อนที่ของเซลล์เม็ดเลือดขาว (Leukocytes) ออกจากหลอดเลือด
การหมุนไปบนผนังหลอดเลือด (Rolling)
การยึดติดกับผนังเซลล์บุหลอดเลือด (Adhesion)
การเคลื่อนตัวผ่านผนังหลอดเลือด (Transmigration หรือ diapedesis)
การเคลื่อนเข้าใกล้ผนังหลอดเลือด (Margination)
สารสื่อกลางการอักเสบ (Inflammatory mediators)
เมแทบอไลต์ของกรดอะราซิโดนิค (Arachidonic acid metabolite)
Platelet-activating factor (PAF)
กลุ่มวาโส แอคทิฟ เอมิน (Vasoactive amine)
สารสื่อกลางกลุ่ม Plasma proteases
ไซโตไคน์ (Cytokine)
ไนตริกออกไซด์ (nitric oxide; NO)
ผลลัพธ์ของการอักเสบเฉียบพลัน
การถูกแทนที่ด้วยพังผืด (Fibrosis
การเกิดหนองฝี(Abscess formation)
การกลับคืนสภาพปกติอย่างสมบูรณ์ (Complete resolution)
การอักเสบดําเนินต่อไปกลายเป็นการอักเสบเรื้อรัง (Progression to chronic inflammation)
การอักเสบแบบเรื้อรัง (chronic inflammation)
Chronic granulomatous Inflammation
เช่นวัณ โรค (Tuberculosis) การติดเชื้อราบางชนิด โรคเรื้อน (Leprosy) ซิฟิลิส (Syphilis) หรือการอักเสบเนื่องจากสิ่งแปลกปลอม บางชนิด (Foreign body
. Chronic nonspecific inflammation
เช่น โรคกระดูกอักเสบแบบเรื้อรัง
(Chronic osteomyelitis) และฝีในปอด (Lung abscess)
อาการและอาการแสดงของอักเสบที่พบทางคลินิก
ลักษณะที่พบทั่วร่างกาย
ระยะที่ 2 Alterations in WBCs (Leukocytosis and Leukopenia)
ระยะที่ 1 Acute phase response
ลักษณะที่พบเฉพาะที่
ไฟบรินสะสม
ของเหลวสะสม
ฝี
หนอง
การวินิจฉัย
Complete blood count (CBC)
Erythrocyte sedimentary rate (ESR)
C-Reactive Protein (CRP)
สารจําพวก Interleukin
Lipoprotein-associated phospholipase A2 (Lp-PLA2)
การซ่อมแซมเนื้อเยื่อ (Tissue repair)
ความผิดปกติหรือภาวะแทรกซ้อน (complication) ของการซ่อมแซม
การสร้างแผลเป็นไม่แข็งแรงเพียงพอเช่น ภาวะแผลแยก
การสร้างแผลเป็นมากเกินไป เช่น แผลเป็นนูนหนา
การรบกวนหรือขัดขวางการทําหน้าที่ของอวัยวะ เช่น เกิดพังผืด
การเกิดเนื้องอก
กระบวนการซ่อมแซม
การหายของแผล (Healing)
ระยะที่มีเลือดออก และการอักเสบ
ระยะการสร้างเนื้อเยื่อเส้นใยหรือระยะงอกขยาย
ระยะเนื้อเยื่อเจริญเต็มที่หรือระยะปรับตัว
การงอกใหม่ (Regeneration)
เซลล์ไม่คงตัว (Labile cells) คือ เซลล์ที่มีการแบ่งตัวเพิ่มจํานวนตลอดเวลา
เซลล์คงสภาพ (Stable cells) คือ เป็นเซลล์ที่มีความสามารถในการเพิ่ม
จํานวนต่ําในภาวะปกติ
เซลล์ถาวร (Permanent or fixed cells) คือ เซลล์ที่ไม่สามารถแบ่งตัวได้
การหายของแผลสมาน
การหายแบบปฐมภูมิ
การหายแบบทุติยภูมิ
การหายแบบตติยภูมิ
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของแผล
อายุ
ภาวะโภชนาการ
การไหลเวียนของเลือดและการขนส่งออกซิเจน
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย
ความเครียด
ปัจจัยอื่น
การแยกของแผล
ลักษณะของแผล
การติดเชื้อ
การเคลื่อนไหว
เทคนิคการเย็บแผลและเทคนิคการทําแผล
การติดเชื้อ (infection)
วงจรการติดเชื้อ (Chain of infection)
รังโรค
ทางออกของเชื้อจากรังโรค
เชื้อที่เป็นสาเหตุหรือเชื้อก่อโรค
เชื้อรา
ไวรัส
โปรโตซัว
พยาธิ
แบคทีเรีย
วิธีการแพร่กระจายเชื้อ
ทางเข้าของเชื้อที่เข้าสู่ร่างกาย
ความไวของบุคคลในการรับเชื้อ
ระยะของการติดเชื้อ
ระยะที่ 2 Prodomal period หรือระยะที่มีอาการนำ
ระยะที่ 3 Acute period เป็นระยะที่มีอาการและอาการแสดงรุนแรงมากขึ้น
ระยะที่1 Incubation period หรือระยะฟักเชื้อ
ระยะที่ 4 Convalescent period หรือระยะพักฟื้น
ชนิดของเชื้อก่อโรค (Classification of infectious agents)
พรีออน (Prion)
ไวรัส (Viruses
แบคทีเรีย (Bacteria)
–Exotoxins –Endotoxi
เชื้อรา (Fungi)
Cutaneous mycoses
Subcutaneous mycoses
Superficial mycoses
Systemic (deep) mycoses
ปรสิต (Parasites)
โปรตัวซัว
พยาธิ
พยาธิใบไม้ในตับ
พยาธิตัวตืด -ตืดหมู,ตืดวัว
ภาวะไข้(Fever หรือ pyrexia)
สารที่ทําให้เกิดอาการไข้
Pyrogens
Exogenous pyrogens
กลไกการเกิดไข้
ขั้นตอนที่ 2 มีการตั้งค่าอุณหภูมิร่างกายใหม่
ขั้นตอนที่ 3 ร่างกายตอบสนองตอบอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น
ขั้นตอนที่4อุณภูมิร่างกายค่อยๆเพิ่มขึ้น
ขั้นตอนที่ 1 เซลล์ที่ได้รับบาดเจ็บหรือถูกทําลายปล่อย Endogenous pyrogensออกมา
ขั้นตอนที่ 5 การตอบสนองของร่างกายเพื่อลดอุณหภูมิลง
การตอบสนองของร่างกายเมื่อเกิดไข้
Chill stage อาการรุนแรงขึ้น
Flush stage ผิวร่างกายเริ่มแดง
Prodromal stage อาการแรกเริ่มไม่รุนแรง
Defervescence stage เป็นระยะของการมีไข้สูง