Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด และการสื่อสารเพื่อการบําบัด,…
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด และการสื่อสารเพื่อการบําบัด
สัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและผู้ป่วย
(Nurse – Patient Relationship)
เป้าหมายในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด
ตระหนักในตนเอง ยอมรับตนเอง และเพิ่มความนับถือตนเองให้มากขึ้น
รู้จักตนเองดีขึ้น และปรับปรุงตัวเองด้านความคิดและการแสดงออก
มีความสามารถที่จะสร้างความสนิทสนมคุ้นเคยกับผู้อื่น พึ่งพาผู้อื่นพอควร โดยสามารถเป็นผู้ให้และผู้รับ
ปรับปรุงการกระทําหน้าที่ในการดํารงชีวิต และเพิ่มความสามารถที่จะทําตามความต้องการของตนเอง
ให้โอกาสผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกไม่สบายใจ
ทําให้ผู้ป่วยเข้าใจปัญหาของตนเอง
เกิดการเรียนรู้ในการปฏิบัติตนที่เหมาะสมได้
ความแตกต่างระหว่างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัดกับสัมพันธภาพเพื่อสังคม
ลักษณะของ
สัมพันธภาพ
การวางแผน
สัมพันธภาพเพื่อการบําบัด
พยาบาลต้องวางแผนก่อนไปพบ
สัมพันธภาพเพื่อสังคม
มีการวางแผนหรือไม่มีก็ได้
เป้าหมายในการสร้างสัมพันธภาพ
สัมพันธภาพเพื่อการบําบัด
เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถ
ระบายความรู้สึกไม่สบายใจ
เข้าใจปัญหาและยอมรับปัญหาตลอดจนสามารถแก้ไขปัญหาของตนเองได้
สร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นได้ รู้จัก
พึ่งตนเองหรือผู้อื่นได้
ให้ความรักและรับความรักจากผู้อื่น
เรียนรู้ในการปฏิบัติตนที่เหมาะสม
สัมพันธภาพเพื่อสังคม
เพื่อให้เกิดความพอใจซึ่งกันและกัน
เนื้อหาในการสนทนา
สัมพันธภาพเพื่อการบําบัด
เน้นเรื่องของความคิด อารมณ์ พฤติกรรมของผู้ป่วย
สัมพันธภาพเพื่อสังคม
ตามความพอใจของทั้ง 2 ฝ่าย
ระยะเวลาในการสร้างสัมพันธภาพ
สัมพันธภาพเพื่อการบําบัด
มีการเริ่มต้นสัมพันธภาพและมีการสิ้นสุดสัมพันธภาพเมื่อผู้ป่วยกลับบ้าน
สัมพันธภาพเพื่อสังคม
มีการเริ่มต้น จะมีการสิ้นสุดสัมพันธภาพหรือไม่มีก็แล้วแต่ความพอใจของทั้ง 2 ฝ่าย
พยาบาลและผู้ปุวยได้มีการติดต่อ
เกี่ยวข้องกันชั่วระยะเวลาหนึ่ง
ช่วยแก้ปัญหาและช่วยให้ฟื้นจากความเจ็บป่วยทางจิตด้วยความรู้ความสามารถของพยาบาล
ระยะการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด (Phase of therapeutic relationship)
1.ระยะก่อนการสนทนา (Pre interacting phase)
เตรียมตัวให้ชัดเจนในด้านเปูาหมายของการสร้างสัมพันธภาพกับผู้ปุวย
วางแผนการสนทนาในแต่ละครั้งเกี่ยวกับวัตถุประสงค์การสนทนาสถานที่ เวลา และให้ข้อมูลต่าง ๆ กับทีมผู้รักษาได้ร่วมรับรู้
ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของผู้ปุวยเกี่ยวกับแผนการรักษาที่ผ่านมา
พยาบาลควรตรวจสอบสภาพด้านร่างกายและจิตใจของตนเองให้พร้อมในความคิดและความรู้สึกในการเข้าไปสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย
2.ระยะเริ่มต้นของสัมพันธภาพ (Initiating phase)
ระยะนี้เป็นระยะที่พยาบาลและผู้ปุวยพยายามทําความรู้จักกัน
ดังนั้นพยาบาลควรมีท่าทีอบอุ่น เป็นมิตร มีความจริงใจ มีความเข้าใจมีความสนใจ และมีความ สม่ําเสมอกับผู้ป่วย
สิ้นสุดเมื่อผู้ปุวยสามารถสํารวจตนเองและบอกปัญหาของตนเอง
สิ่งที่พยาบาลควรปฏิบัติในระยะนี้
การเตรียมสถานที่และบรรยากาศให้น่าไว้วางใจ
เมื่อพบหน้ากันควรกล่าวทักทายด้วยท่าทางเป็นมิตร พูดคุยเรื่องทั่วไปก่อน
แนะนําตัว
บอกวัตถุประสงค์
บอกบทบาทหน้าที่
กําหนดของตกลงในการสร้างสัมพันธภาพ
วัตถุประสงค์ ระยะเวลาที่ดูแล
ระยะเวลาที่สนทนา
สร้างความไว้วางใจ
การเคารพในศักดิ์ศรีของผู้ป่วย
การรับฟัง ทั้งคําพูดและการกระทํา
การค้นหาหรือระบุปัญหาที่แท้จริง
การเสริมให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึก
การสนองตอบต่อปัญหาหรือความกังวลที่เกิดขึ้น
ปัญหาที่พบในระยะนี้ได้แก่
ความวิตกกังวล (Anxiety)
เกิดขึ้นได้ทั้งผู้ป่วยและพยาบาล
ผู้ป่วย
ไม่เคยชินกับสัมพันธภาพที่ใกล้ชิดกับพยาบาล
จะมีพฤติกรรมที่แสดงถึงภาวะวิตกกังวล
การบิดมือ
การเคลื่อนไหวร่างกาย การสั่นขา
น้ำเสียงที่พูดรัวและเร็ว
พยาบาล
กังวลในเรื่องการใช้เทคนิคการสนทนา
ไม่มั่นใจในการสนทนากับผู้ปุวยพยาบาลต้องวิเคราะห์ภาวะวิตกกังวลทั้งของตนเองและผู้ป่วย
การทดสอบ (Testing)
ผู้ใช้บริการมักจะทดสอบขอบเขตของสัมพันธภาพ
ผู้ป่วยไม่เคยชินกับ
สัมพันธภาพที่ใกล้ชิดกับพยาบาล
ผู้ป่วยจะมีพฤติกรรมการทดสอบ
การไม่มาพบ
พยาบาลตามเวลานัด
มาพบพยาบาลแต่อยู่ไม่ครบตามเวลา
การต่อต้าน (Resistance)
ผู้ป่วยไม่รับรู้และไม่มีสัมพันธภาพที่ใกล้ชิดกับพยาบาล
พฤติกรรมการแสดงออก
ไม่เปิดเผยตนเอง
ไม่มาพบพยาบาล
3.ระยะแก้ไขปัญหา (Working phase)
ผู้ป่วยเห็นว่าพยาบาลยอมรับ เข้าใจ และรับฟังปัญหาของผู้ปุวยอย่างไม่มีอคติ
สิ่งที่พยาบาลควรปฏิบัติในระยะนี้
รักษาสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด
ค้นหาสาเหตุปัญหา หรือสิ่งที่มากระทบ
การดําเนินชีวิต
พยาบาลต้องรับฟัง ยอมรับ เข้าใจ และติดตามเรื่องราวต่างของผู้ป่วย
ประเมินการเจ็บปุวยว่ามีผลกระทบอย่างไรบ้างกับชีวิต
ร่วมกับผู้ป่วยในการวิเคราะห์หาสาเหตุ วิธีแก้ไขปัญหา
สนับสนุนด้านจิตใจ ให้เวลา ให้กําลังใจ ให้ข้อมูล
ข้อบ่งชี้ที่ทําให้พยาบาลทราบว่า สัมพันธภาพเข้าสู่ระยะแก้ไขปัญหาแล้ว
ผู้ป่วยจะเลิกถามถึงวัตถุประสงค์ที่พยาบาลพบเขา
ผู้ป่วยจะมาตรงตามเวลานัดหรือมาคอยพยาบาลในทีนัดหมาย
ผู้ป่วยจะรักษาเวลา ให้จบภายในเวลาทีพยาบาลให้
ผู้ป่วยจะพูดถึงปัญหา และความยุ่งยากของเขา พูดออกนอกเรืองน้อยมาก
ผู้ป่วยจะพูดเชื่อมโยงเหตุการณ์ในครั้งก่อน ๆ กับเหตุการณ์ในครั้งหลังๆ
ผู้ป่วยจะแจ้งให้พยาบาลทราบ ถ้าเขามีเหตุขัดข้องมาพบพยาบาลไม่ได้
ปัญหาที่พบในระยะนี้
ความวิตกกังวลของพยาบาล
มีความรู้สึกร่วมกับผู้ป่วย(Sympathy)
พยาบาลมีความรู้สึกร่วมกับผู้ป่วย
การถ่ายโยงความรู้สึกของผู้ป่วยไปสู่พยาบาล(Transference)
การถ่ายโยงความรู้สึกของพยาบาลไปสู่ผู้ป่วย(Counter transference)ซึ่งก็คล้ายกับTransference
4.ระยะยุติสัมพันธภาพ (Termination phase)
เป็นระยะที่ผู้ป่วยได้รับการคลี่คลายปัญหาแล้ว
ช่วยตนเองตัดสินใจและปรับตัวได้
พยาบาลต้องไม่ทําให้ผู้ปุวยต้องพึ่งพยาบาลมากเกินไป
มีขั้นตอนดังนี้
การเตรียมผู้ป่วย
1.1ในกรณีที่ผู้ป่วยอยู่โรงพยาบาลแต่ต้องยุติสัมพันธภาพ
ควรบอกให้ผู้ป่วยทราบล่วงหน้าควรบอกตั้งแต่วันแรกและบอกเป็นระยะ
บอกให้ทราบว่าอาการอะไรที่ดีขึ้นของผู้ป่วยว่ามีอะไรบ้าง ปัญหามีอะไรแก้ไขแล้วหรือยังไม่ได้รับการแก้ไข
บอกถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการสนทนากับผู้ป่วย
ประเมินความรู้สึกของผู้ปุวยต่อการยุติสัมพันธภาพ
1 more item...
1.2ในกรณีที่ผู้ป่วยกลับบ้าน
บอกถึงอาการของผู้ป่วยที่ดีขึ้น และอาการของผู้ป่วยที่ต้องแก้ไข
แนะนําข้อปฏิบัติในการดูแลสุขภาพ
2.เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยสรุปสิ่งที่เกิดขึ้นในระบวนการสร้างสัมพันธภาพ
3.สรุปปัญหาที่ร่วมกันแก้ไขการเปลี่ยนแปลงที่ดี ส่งเสริมความมั่นใจในความสามารถที่จะช่วยตนเองของผู้ป่วย
4.ประเมินปฏิกิริยาของผู้ปุวยในระยะยุติสัมพันธภาพและให้เวลาผู้ป่วยได้บอกความรู้สึก
5.ยุติหรือสิ้นสุดสัมพันธภาพในรูปแบบของวิชาชีพเตรียมผู้ป่วยให้สามารถเผชิญปัญหาต่างๆด้วยตนเอง
ปฏิกิริยาต่อการยุติสัมพันธภาพ (Reaction to termination)
ด้านพยาบาลจะเกิดความรู้สึกเศร้าเพราะเกิดความรู้สึกผูกพันกับผู้ป่วย
เป็นห่วงผู้ป่วยกลัวไม่มีใคร
กลัวผู้ป่วยจะไม่หาย
ด้านผู้ป่วยจะมีปฏิกิริยาต่อการยุติสัมพันธภาพกับพยาบาลดังนี้
ไม่ยอมรับการยุติสัมพันธภาพ (Denial)
ไม่ยอมรับในตัวพยาบาล (Reject)
โกรธและไม่เป็นมิตร (Anger and hostility)
มีพฤติกรรมถดถอย (Regression)
2 more items...
การไม่มาพบพยาบาลตามเวลาที่นัดหมาย
การพูดคุยแบบผิวเผิน
มองว่าพยาบาลทอดทิ้ง
ขอที่อยู่จะติดต่อทางจดหมาย
ขอไปเยี่ยมที่บ้าน
การสื่อสารเพื่อการบําบัด (Therapeutic Communication)
องค์ประกอบที่มีผลต่อการสื่อสารเพื่อการบําบัด
สถานที่ (place or setting)
ควรเป็นสถานที่ซึ่งไม่พลุกพล่าน
ปราศจากสิ่งรบกวนและมีความเป็นส่วนตัว (Privacy)
ควรมีความสบายปลอดโปร่ง ไม่ทําให้ผู้ป่วยรู้สึกอึดอัด
หากผู้ป่วยมีพฤติกรรมที่อาจหลบหนีหรือมีพฤติกรรมก้าวร้าว
ภายในห้องแยก
สถานที่อาจมีความจําเป็นต้องอยู่ภายใต้การดูแลของเจ้าหน้าที่หอผู้ป่วย
ท่านั่ง (seating)
ท่านั่งที่เหมาะสมควรเป็นท่าที่ผ่อนคลายและทั้งสองฝ่ายสามารถมองเห็นคู่สนทนาได้อย่างชัดเจน
ไม่ควรนั่งเผชิญหน้ากัน เนื่องจาก
ทําให้ผู้ป่วยรู้สึกอึดอัด
ระยะห่างระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วย (space)
มีความคิดหวาดระแวง หรือการควบคุมอารมณ์โกรธไม่เหมาะสม ระยะห่างของการสนทนาอาจต้องมีมากขึ้น
ได้ระบายความรู้สึกโดยการปรับระยะห่างให้มีความใกล้ชิดมากขึ้น
ในสังคมที่เหมาะสมอาจมีระยะห่างระหว่าง4-12 ฟุต
เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบําบัด
เทคนิคการกระตุ้นและส่งเสริมการสนทนา
1.Using broad opening Statement
คําถามง่ายๆ เปิดโอกาส ให้ผู้ป่วยเลือกหัวข้อในการสนทนา
2.Using general lead
การใช้คําพูด หรือแสดงออกว่าพยาบาลกําลังฟัง และสนใจ
3.Restating
เป็นการพูดทวนเนื้อหา ทวนซ้ําทั้งหมดหรือเฉพาะข้อความสําคัญ
4.Questioning
การตั้งคําถามทั่วไป
เทคนิคที่ช่วยกระตุ้นให้ผู้ป่วยพูดระบายความคิดความรู้สึก
6.Reflecting (content/feel)
กล่าวซ้ำสะท้อนความคิด คำพูดใหม่แต่ความหมายและความรู้สึกเดิม
7.Accepting/listening
การยอมรับผู้รับบริการ อาจแสดงออกด้วยท่าทางน้ำเสียง
8.Sharing observation
การบอกในสิ่งที่พยาบาลสังเกตเห็นเกี่ยวกับตัวผู้รับบริการ
9.Using silence
ผู้ป่วยคิดไตร่ตรองและพูดความรู้สึกตนเองพยาบาลสังเกต
10.Giving information
การให้ข้อมูลที่เป็นจริง
11.Presenting reality
เป็นการให้ความจริงแก่ความคิดหรือการรับรู้ที่ผิดไปจากความเป็นจริง
เทคนิคการส่งเสริมให้ผู้ป่วยรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง
12.Giving recognition
แสดงความจําและระลึกได้
13.Listening
การฟัง
14. Offering self
เป็นการเสนอตนเองเพื่อรับฟังปัญหา ให้การช่วยเหลือ
15. positive reinforcement
การให้แรงเสริมทางบวก
เทคนิคที่ช่วยพยาบาลกับผู้ป่วยเข้าใจให้ตรงกัน
16.Clarifying
เป็นการขอคําอธิบาย
เพิ่มเติม
17.Verbalization implied thought and feeling
ผู้ปุวยตระหนักถึงความรู้สึกตนเองในเมื่อผู้ปุวยพูดเป็นนัยๆให้ ควรสอบถามความรู้สึกที่แท้จริงก่อน
18.Validating
การตรวจสอบความรู้สึกของผู้ป่วย
เทคนิคช่วยส่งเสริมความเข้าใจในการปรับตัวผู้ป่วย
19.Exploring
การสอบถามเพื่อให้ได้ข้อมูล/ปัญหา/รายละเอียดเกี่ยวกับผู้รับ บริการ
20.Focusing
มุ่งความสนใจให้อยู่ใน
เรื่องใดเรื่องหนึ่ง
21.Encouraging evaluation
ประเมินประสบการณ์เคยเผชิญมาก่อน
เทคนิคช่วยส่งเสริมความเข้าใจในการปรับตัวผู้ป่วย
22.Encouraging formulation of a plan of action
การสนับสนุนให้ผู้ป่วยวางแผนในอนาคต
23.Summarizing
การสรุปเนื้อหาคําพูดสั้นๆเพื่อให้ได้ใจความทั้งหมด
ปัญหาการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบําบัดและวิธีการแก้ไข
ผู้ป่วยลุกออกไปจากการสนทนาอย่างกะทันหัน
พยาบาลนั่งรอในห้องนั้น
ไม่ไปทํากิจกรรมอื่นแทน
ผู้ป่วยซักไซ้เรื่องส่วนตัว
ของพยาบาล
ตอบคําถามอย่างสั้น ๆ เฉพาะที่เป็นความจริงและเป็นข้อมูลทั่วไป
สนทนาเพื่อความสืบค้นในความต้องการซักไซ้ในข้อมูลส่วนตัวของพยาบาล
ผู้ป่วยขอให้การสนทนาจบเร็ว ๆ กว่าเวลาที่กําหนดไว้
สํารวจความต้องการที่ขอเช่นนั้น
กําหนดการนัดหมายใหม่ตามความเหมาะสมของทั้งสองฝ่าย
ผู้ป่วยไม่ต้องการพูดคุย
นั่งเงียบ ๆ ด้วยความสงบ
มองผู้ป่วยโดยความสนใจและด้วยสีหน้าที่เป็นมิตร
พยาบาลเองเป็นฝ่ายมาช้ากว่าเวลานัด
ขอโทษ และให้เหตุผล
นัดหมายใหม่ให้เหมาะสม
17.คําถามของพยาบาลทําให้ผู้ป่วยไม่พอใจ หรือหงุดหงิด
ไม่เป็นไร ไม่ต้องตกใจ
อย่าเปลี่ยนเรื่อง ให้มุ่งการสนทนาที่ประเด็นดังกล่าวนั้น
ยกประเด็นขึ้นมาให้ชัดเจนอีกครั้ง
ผู้ปุวยมาพบตามนัด แต่
มาช้าเป็นประจํา
พิจารณาว่าผู้ปุวยรู้จักเวลาหรือไม่
พยาบาลไปให้ตรงเวลา และรอผู้ป่วย ณ สถานที่นัดอย่างสงบ
จบการสนทนาตามเวลาที่ได้กําหนดไว้
ผู้ป่วยไม่มาตามนัด
ตามหาผู้ป่วย
นัดหมายใหม่ อาจต้องจัดเวลาและสถานที่ใหม่
เตือนผู้ป่วยล่วงหน้าก่อนถึงวันนัด
พยาบาลจะต้องแก้ไขปัญหานี้เสียก่อน
จึงจะสามารถก้าวสู่สัมพันธภาพระยะ
ต่อไปในระยะดําเนินการได้
นางสาวรัตน์ศิการ์ ยิ้มใหญ่ รุ่น36/2 เลขที่19
นางสาวสโรชา ยาวิใจ
รุ่น 36/2 เลขที่35