Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การอักเสบและการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การอักเสบและการติดเชื้อ
Infiammation
การอักเสบแบบเฉียบพลัน (Acute inflammation)
การขยายตัวของหลอดเลือด (Vasodilation)
เลือดไหลเข้าสู่หลอดเลือดมากขึ้น
ทําให้เกิดภาวะคั่ง (Congestion)
เลือด
สารน้ํา
เนื้อเยื่อบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บมีสีแดง
การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของหลอดเลือด(Increased vascular
permeability)
ทําให้เซลล์และ
ของเหลวรั่วออกนอกหลอดเลือด
มีผลให้เลือดในหลอดเลือดมีความเข้มข้นสูงยิ่งขึ้น
เลือดจะข้นหนืดมากขึ้นและไหลช้าลง
มีการแข็งตัวของเลือด (Clotting of blood)
การเคลื่อนที่ของเซลล์เม็ดเลือดขาว (Leukocytes) ออกจากหลอดเลือด
เม็ดเลือดขาวเกาะติดผนังหลอดเลือด (Adhesion) และเคลื่อนย้ายไปยังที่ที่มีการอักเสบ (Transmigration)
การเคลื่อนเข้าใกล้ผนังหลอดเลือด (Margination)
เกิดขึ้นภายหลังจากการไหลเวียนของเลือดไหลช้าลง
กลุ่มเซลล์เม็ดเลือดแดงมารวมอยู่ตรง
กลางของหลอดเลือดและเบียดเซลล์เม็ดเลือดขาวไปอยู่ใกล้กับผนังของหลอดเลือด
การหมุนไปบนผนังหลอดเลือด (Rolling)
การยึดติดกับผนังเซลล์บุหลอดเลือด (Adhesion)
อาศัยการเกาะจับของอนุภาคเกาะจับ (Adhesion molecules)
การเคลื่อนตัวผ่านผนังหลอดเลือด (Transmigration หรือ
diapedesis)
แทรกตัวผ่านรอยต่อของเซลล์เยื่อบุผนังหลอดเลือด
เซลล์เม็ด
เลือดขาวจะยื่นไซโตพลาสซึม (Pseudopod)
การเคลื่อนเข้าหาสิ่งกระตุ้น (Chemotaxis)
การจับกิน (Phagocytosis)
สารสื่อกลางการอักเสบ (Inflammatory mediators)
กลุ่มวาโส แอคทิฟ เอมิน (Vasoactive amine)
ฮีสตามีน
(Histamine)
เซโรโทนิน (Serotonin)
เมแทบอไลต์ของกรดอะราซิโดนิค (Arachidonic acid metabolite)
Platelet-activating factor (PAF)
มีฤทธิ์แรงในการทํา
ให้เกิดการรวมตัวของเกล็ดเลือด (Platelet aggregation)
สารสื่อกลางกลุ่ม Plasma proteases
ระบบคอมพลีเมนต์ (Complement system)
ระบบไคนิน (Kinin system)
ะระบบการ
แข็งตัวของเลือด (Clotting system)
ไซโตไคน์ (Cytokine)
ไนตริกออกไซด์ (nitric oxide; NO)
เป็นอนุมูลอิสระ (Free radical)
ออกฤทธิ์สั้นและเฉพาะที่
ผลลัพธ์ของการอักเสบเฉียบพลัน
การกลับคืนสภาพปกติอย่างสมบูรณ์ (Complete resolution)
พบในกรณีที่เนื้อเยื่อมีการบาดเจ็บในปริมาณน้อย หรือระยะเวลาสั้น ๆ
การถูกแทนที่ด้วยพังผืด (Fibrosis)
กรณีที่มีการบาดเจ็บรุนแรง
มีการทําลายโครงสร้างพื้นฐานของเนื้อเยื่อ
เซลล์เนื้อเยื่อนั้นไม่สามารถงอกใหม่ได้
การเกิดหนองฝี(Abscess formation)
เกิดจากเนื้อเยื่อที่ตาย
ซากของเม็ดเลือดขาวนิวโทรฟิลที่ตายแล้ว
การอักเสบดําเนินต่อไปกลายเป็นการอักเสบเรื้อรัง (Progression to
chronic inflammation)
จะเกิดขึ้นในกรณีที่ร่างกายไม่สามารถกําจัดสิ่งแปลกปลอมนั้นออกไป
จากร่างกายได้หมด
การอักเสบแบบเรื้อรัง (chronic inflammation)
Chronic nonspecific inflammation
มีการรวมตัวกันของ Macrophages และ Lymphocytesมากขึ้นในบริเวณเนื้อเยื่อที่ได้รับบาดเจ็บ
Chronic granulomatous Inflammation
วัณโรค (Tuberculosis)
การติดเชื้อราบางชนิด โรคเรื้อน (Leprosy) ซิฟิลิส (Syphilis)
การอักเสบเนื่องจากสิ่งแปลกปลอม
บางชนิด (Foreign body)
การพบ Granuloma
Foreign body granuloma
มักพบในการอักเสบเนื่องจากสิ่งแปลกปลอม
สิ่งแปลกปลอมเหล่านี้มีขนาดใหญ่และย่อยสลายยาก
ไหมเย็บ
แผล ผงแป้ง หรือฝุ่นผงต่าง ๆ
อาการและอาการแสดงของอักเสบ
ที่พบทางคลินิก
ลักษณะที่พบเฉพาะที่
การอักเสบชนิดที่มีของเหลวสะสม (Serous inflammation)
การอักเสบชนิดที่มีไฟบรินสะสม (Fibrinous inflammation)
การอักเสบเป็นหนอง (purulent or suppurative inflammation)
ฝี (Abscess)
แผล (Ulcer)
ลักษณะที่พบทั่วร่างกาย
ระยะที่ 1 Acute phase response
เกิดในช่วงแรกซึ่งอาจใช้เวลาเป็นชั่วโมง
หรือเป็นวันหลังจากเริ่มกระบวนการอักเสบ
เกิดขึ้นโดยอาศัย Mediators กลุ่ม Cytokine
ระยะที่ 2 Alterations in WBCs (Leukocytosis and Leukopenia)
มักพบเมื่อร่างกายเกิดการอักเสบ
การซ่อมแซมเนื้อเยื่อ (Tissue repair)
กระบวนการซ่อมแซม
การงอกใหม่ (Regeneration)
เซลล์ไม่คงตัว (Labile cells)
เซลล์ที่มีการแบ่งตัวเพิ่มจํานวน
ตลอดเวลา
พบเซลล์ชนิดนี้ได์ในเนื้อเยื่อที่มีการหลุดลอก ได้แก่ Epithelial cell
เซลล์คงสภาพ (Stable cells)
เป็นเซลล์ที่มีความสามารถในการเพิ่ม
จํานวนต่ําในภาวะปกติ
แต่สามารถแบ่งตัวได้เร็วเมื่อมีการกระตุ้น
เซลล์ถาวร (Permanent or fixed cells)
เซลล์ที่ไม่สามารถแบ่งตัวได
เซลล์ที่ถูกทําลายจะถูกแทนที่ด้วย
Fibrous tissue cell เกิดแผลเป็น (Scar)
การหายของแผล (Healing)
ระยะการหายของแผล
ระยะที่มีเลือดออกและอักเสบ
ระยะการสร้างเนื้อเยื่อเส้นใยหรือระยะงอกขยาย
ระยะเนื้อเยื่อเจริญเต็มที่หรือระยะปรับตัว
รูปแบบการหายของแผล
การหายแบบปฐมภูมิ(Primary intention healing)
การหายแบบทุติยภูมิ(Secondary intention healing)
การหายแบบตติยภูมิ(Tertialy intention healing)
ความผิดปกติหรือภาวะแทรกซ้อน (complication) ของการซ่อมแซม
การสร้างแผลเป็นไม่แข็งแรงเพียงพอ
การสร้างแผลเป็นมากเกินไป
การรบกวนหรือขัดขวางการทําหน้าที่ของอวัยวะ
การเกิดเนื้องอก
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของแผล
อายุ
ภาวะโภชนาการ
ปัจจัยอื่นๆ
การไหลเวียนของเลือดและการขนส่งออกซิเจน
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย
ความเครียด
การติดเชื้อ (infection)
วงจรการติดเชื้อ (Chain of infection)
วิธีการแพร่กระจายเชื้อ (mode of transmission)
ทางเข้าของเชื้อที่เข้าสู่ร่างกาย (Portal of entry)
ทางออกของเชื้อจากรังโรค (Portal of exit)
รังโรค (Reservoir)
ความไวของบุคคลในการรับเชื้อ (Susceptible host หรือ vulnerable
host)
เชื้อที่เป็นสาเหตุหรือเชื้อก่อโรค (Infectious agent หรือ causative agent)
ไวรัส
พยาธิ
เชื้อรา
โปรโตซัว
แบคทีเรีย
ระยะของการติดเชื้อ
ระยะที่1 Incubation period
ระยะนี้เริ่มตั้งแต่เชื้อเข้าสู่ Host
ไม่พบอาการ
มีการเจริญเติบโตแบ่งตัว
แพร่กระจายเข้าสู่อวัยวะเป้าหมาย
ระยะที่ 4 Convalescent period
Host ได้รับการรักษาจนหาย
ไม่พบอาการและอาการแสดงของภาวะการติดเชื้อ
ระยะที่ 2 Prodomal period
ระยะที่ Host เริ่มแสดงอาการผิดปกติเนื่องจากการติดเชื้อ
เบื่ออาหาร ปวดเมื่อยตามตัว ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ และปวดข้อ
ระยะที่ 3 Acute period
Localized acute infection
สามารถระบุตําแหน่งได้ชัดเจน
ร่างกายจะมีปฏิกิริยาการอักเสบ (Inflammatory response) เกิดขึ้น
ปวด บวม แดง และร้อน
Systemic acute infection
มีผลต่อทุกส่วนของร่างกาย
ร่างกายต้องใช้เมตาบอริซึมเพิ่มขึ้น
มีไข้ หนาวสั่น หัวใจเต้นเร็วและหายใจเร็ว
ชนิดของเชื้อก่อโรค (Classification of infectious agents)
พรีออน (Prion)
ไวรัส (Viruses)
แบคทีเรีย (Bacteria)
Cutaneous mycoses
Subcutaneous mycoses
Superficial mycoses
Systemic (deep) mycoses
เชื้อรา (Fungi)
ปรสิต (Parasites)
พยาธิ(Worms or flukes)
โปรตัวซัว
ภาวะไข้(Fever หรือ pyrexia)
กลไกการเกิดไข้มี 5 ขั้นตอนภายหลังจากมี Pyrogens เข้าสู่ร่างกาย
3 ร่างกายตอบสนองต่ออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น
4 อุณหภูมิร่างกายค่อยๆ เพิ่มขึ้นตอบสนองต่อจุด Set point
2 มีการตั้งค่าอุณหภูมิร่างกายใหม่
5 การตอบสนองของร่างกายเพื่อลดอุณหภูมิลง
1 เซลล์ที่ได้รับบาดเจ็บหรือถูกทําลายปล่อย Endogenous pyrogens
ออกมา
การตอบสนองของร่างกายเมื่อเกิดไข้
Prodromal stage
อาการแรกเริ่มไม่รุนแรง
อาการปวดศีรษะเนื่องจากหลอดเลือดสมองขยายตัว
อ่อนเพลีย รู้สึกไม่สุขสบาย
Flush stage
หลอดเลือดบริเวณผิวหนังขยายตัว (Cutaneous vasodilation)
ผิวร่างกายเริ่มแดง (Flush) และอุ่นขึ้น
Chill stage
อาการรุนแรงขึ้น
เริ่มจากหลอดเลือดหดตัว มีอาการขนลุก
ผิวหนังซีด รู้สึกหนาว มีอาการสั่น
Defervescence stage
เป็นระยะของการมีไข้สูง (Febrile)
เริ่มจากมีเหงื่อออกมาก (Sweating)
อาการไข้ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัยมีความแตกต่างกัน
Pyrogens
Exogenous pyrogens
เช่น Lipopolysaccharide (LPS) ในแบคทีเรีย
ซึ่งจะไปกระตุ้นให้เซลล์เม็ดเลือดขาวสร้าง
Endogenous pyrogens
Prostaglandin E2 โดยจะไปกระตุ้น
Hypothalamus
ให้ปรับอุณหภูมิของร่างกายให้สูงขึ้น