Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การอักเสบและการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การอักเสบและการติดเชื้อ
การอักเสบ
การอักเสบแบบเฉียบพลัน
ลักษณะทางคลินิกที่สำคัญ
บวม
ปวด
ร้อน
แดง
ไม่สามารถทำหน้าที่ได้ดังเดิม
ลักษณะสำคัญของปฏิกิริยาตอบสนองก่อนปฏิกิริยาการกำจัดเชื้ออื่นๆ
การคลื่อนที่ของเซลล์เม็ดเลือดขาวออกจากหลอดเลือด
เม็ดเลือดขาวเกาะติดผนังหลอดเลือดและเคลื่อนย้ายไปยังที่ที่มีการอักเสบ
การเคลื่อนเข้าใกล้ผนังหลอดเลือด
การหมุนไปบนผนังหลอดเลือด
การยึดติดกับผนังเซลล์บุหลอดเลือด
การเคลื่อนตัวผ่านผนังหลอดเลือด
การเคลื่อนเข้าหาสิ่งกระตุ้น
การจับกิน
การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของหลอดเลือดที่เกิดจากฤทธิ์ของสารสื่อกลางการอักเสบต่าง
การขยายตัวของหลอดเลือด
สารสื่อกลางการอักเสบ
เมแทบอไลต์ของกรดอะราซิโดนิค
Platelet-activating factor
สารสื่อกลางกลุ่ม
ไซโตไคน์
ไนตริกออกไซด์
กลุ่มวาโส แอคทิฟ เอมิน
ผลลัพธ์ของการอักเสบเฉียบพลัน
การถูกแทนที่ด้วยพังผืด
การเกิดหนองฝี
การกลับคืนสภาพปกติอย่างสมบูรณ์
การอักเสบดำเนินต่อไปกลายเป็นการอักเสบเรื้อรัง
การอักเสบแบบเรื้อรัง
สาเหตุสำคัญของการอักเสบเรื้อรัง
การได้รับสิ่งที่เป็นอันตรายต่อเนื้อเยื่อเป็นเวลานาน
เกิดจากโรคภูมิต้านทานตนเอง
การติดเชื้อบางชนิดซึ่งเชื้อโรคสามารถคงอในร่างการได้เป็นเวลานาน
ลักษณะทางพยาธิวิทยาของการอักเสบเรื้อรัง
Lymphocytes
Plasma cell
Macrophages
รูปแบบของการอักเสบแบบเรื้อรัง
Chronic nonspecific inflammation
Chronic granulomatous Inflammation
ลักษณะอาการและอาการแสดงของอักเสบที่พบทางคลินิก
ลักษณะที่พบทั่วร่างกาย
ระยะที่ 1 Acute phase respones
อาการและอาการแสดงที่พบ
การย่อยสลายโปรตีนในร่างกายเพิ่มขึ้น
ปริมาณ immature neutrophils เพิ่มมากขึ้น
ความดันโลหิตลดต่ำ
อาการซึม
อาการเบื่ออาหาร
อาการไข้
เมื่ออุณหภูมิร่างกายสูงขึ้นมากถึง 39.5 องศาเซลเซียส
ตับเพิ่มการสังเคราะห์ Fibrinogen
ระยะที่ 2 Alterations in WBCs (Leukocytosis and Leukopenia)
พบเมื่อร่างกายเกิดการอักเสบ
ลักษณะที่พบเฉพาะที่
ฝี
แผล
การอักเสบชนิดที่มีไฟบรินสะสม
การอักเสบชนิดที่มีของเหลวสะสม
การอักเสบเป็นหนอง
การวินิจฉัย
C-Reactive Protein (CRP)
สารจำพวก interleukin
Erythrocyte sedimentary rate (ESR)
Lipoprotein-associated phospholipase A2 (Lp-PLA2)
Complete blood count (CBC)
การซ่อมแซมเนื้อเยื่อ
กระบวนการซ่อมแซม
การงอกใหม่
เซลล์คงสภาพ
เซลล์ถาวร
เซลล์ไม่คงตัว
การหายของแผล
ระยะการสร้างเนื้อเยื่อเส้นใยหรือระยะงอกขยาย
ระยะเนื้อเยื่อเจริญเต็มที่หรือระยะปรับตัว
ระยะที่มีเลือดออกและการอักเสบ
การหายของแผลหรือการสมานของแผล
การหายแบบทุติยภูมิ (Secondary intention healin)
การหายแบบทุติยภูมิ (Tertialy intention healing)
การหายแบบปฐมภูมิ ( Primary intention healing)
ความผิดปกติหรือภาวะแทรกซ้อน
การสร้างแผลเป็นมากเกินไป
การรบกวนหรือขัดขวางการทำหน้าที่ของอวัยวะ
การสร้างแผลเป็นไม่แข็งแรงเพียงพอ
การเกิดเนื้องอก การอักเสบและการซ่อมแซมอย่างมากเป็นเวลานาน
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของแผล
การไหลเวียนของเลือดและการขนส่งออกซิเจน
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย
ภาวะโภชนาการ
ความเครียด
อายุ วัยสูงอายุจะมีการซ่อมแซมแผลได้ช้ากว่าวัยอื่นๆ
ปัจจัยอื่นๆ
สิ่งแปลกปลอม
ลักษณะของแผล
การแยกของแผล
การเคลื่อนไหว
การติดเชื้อ
เทคนิคการเย็บแผลและเทคนิคการทำแผล
ภาวะไข้
อุณหภูมิ
ไข้ต่ำ 37.5-38.4 องศสเซลเซียส
ไข้ปานกลาง 38.5-39.5 องศสเซลเซียส
ไข้สูง 39.5-40.5 องศาเซลเซียส
ไข้สูงมาก 40.5 องศาเซลเซียส ซึ่งอันตรายที่สุด
สารที่ทำให้เกิดอาการไข้
Pyrogens
Exogenous pyrogens
Endogenous pyrogens
กลไกลการเกิดไข้
ร่างกายตอบสนองต่ออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น
อุณหภูมิร่างกายค่อยๆเพิ่มขึ้นตอบสนองต่อจุด Set point ใหม่ของร่างกาย
มีการตั้งค่าอุณหภูมิร่างกายใหม่
การตอบสนองของร่างกายเพื่อลดอุณหภูมิลง
ขั้นตอนที่ 1 เซลล์ได้รับบาดเจ็บ/ถูกทำลาย ปล่อย Endogenous pyrogens ออกมา
การตอบสนองของร่างกายเมื่อเกิดไข้
Chill stage
Flus stage
Prodromal
Defervescence stage
การติดเชื้อ
ระยะของการติดเชื้อ
Prodomal period
Acute period
Localized acute infection
Systemic acute infection
Incubation period
Convalescent period
ชนิดของเชื้อก่อโรค
แบคทีเรีย (Bacteria)
สารพิษที่แบคทีเรียสร้างขึ้น
Exotoxins
Endotoxins
เชื้อรา (Fungi)
ความรุนแรงของการเกิดโรคตามความลึกของการเจริญเติบโตในร่างกายของมนุษย์
Cutaneous mycoses เชื้อราที่บริเวณผม ขน เล็บ
Subcutaneous mycoses การติดเชื้อราบริเวณผิวหนัง
Superficial mycoses การติดเชื้อราที่อยู่ตื้นที่สุด
Systemic (deep) mycoses
ไวรัส (Viruses)
ปรสิต (Parasites)
โปรโตซัว
พยาธิ
พยาธิใบไม้ในตับ
พยาธิตัวตืด
พยาธิตืดหมู
พยาธิตืดวัว
พรีออน (Prion)
วงจรการติดเชื้อ
ทางออกของเชื้อจากรังโรค
วิธีการแพร่กระจายเชื้อ
รังโรค
ทางเข้าของเชื้อที่เข้าสู่ร่างกาย
เชื้อที่เป็นสาเหตุหรือเชื้อก่อโรค
ความไวของบุคคลในการรับเชื้อ