Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การอักเสบและการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การอักเสบและการติดเชื้อ
1. การอักเสบ
1.1. พยาธิสรีวิทยาการอักเสบ
1.1.1 การอักเสบแบบเฉียบพลัน (Acute inflammation)
1.การขยายตัวของหลอดเลือด (Vasodilation)
2.การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของหลอดเลือดที่เกิดจากฤทธิ์ของสารสื่อกลางอักเสบต่างๆ มีผลเพิ่มการซึมผ่่านผนังหลอดเลือด (Increased vascular permeabiliy)
3.การเคลื่อนที่ของเซลล์เม็ดเลือดขาว (Leukocytes) ออกจากหลอดเลือด
3.1 เม็ดเลือดขาวเกาะติดผนังหลอดเลือด (Adhesion) และเคลื่อนย้ายไปยังที่ที่มีการอักเสบ (Transmigration)
3.2 การเคลื่อนที่เข้าหาสิ่งกระตุ้น (Chemotaxis)
3.3 การจับกิน (Phagocytosis)
1.1.1.1 สารสื่อกลางการอักเสบ (Inflammatory mediators)
กลุ่มวาโส แอคทิฟ เอมิน (Vasoactive amine)
เมแทบอไลต์ของกรดอะราซิโดนิค (Arachidonic acid metabolite)
Platelet - activating factor (PAF)
สารสื่อกลางกลุ่ม (Plasma proteases)
ไซโตโคน์ (Cytokine)
6.ไนตริกออกไซด์ (Nitric oxide; No)
1.1.1.2 ผลลัพธ์ของการอักเสบเฉียบพลัน
การกลับคืนสภาพปกติอย่างสมบูรณ์ (Complete resolution)
การถูกแทนที่ด้วยพังผืด (Fibrosi)
3.การเกิดหนองฝี (Abscess formation)
การอักเสบดำเนินต่อไปกลายเป็นการอักเสบเรื้อรัง (Progression to chronic inflammation)
1.1.2 การอักเสบแบบเรื้อรัง (Chronic inflammation)
1.Chronic nonspecifi inflammation
2.Chronic granulomatous Inflammatoin
1.1.3 อาการและอาการแสดงของอักเสบที่พบทางคลินิก
1.1.3.1 ลักษณะที่พบเฉพาะที่
การอักเสบชนิดที่มีของเหลวสะสม (Serous inflammation)
การอักเสบชนิดที่มีไฟบรินสะสม (Fibrinous inflammation)
การอักเสบเป็นหนอง (Purulent or suppurative inflammation )
ฝี (Abscess)
แผล (Ulcer)
1.1.3.2 ลักษณะที่พบทั่วร่างกาย
ระยะที่ 1 Acute phase response
ระยะที่ 2 Alterations in WBCs (Leukocytosis and Leukopenia)
1.1.4 การวินิจฉัย
Complete blood count (CBC)
Erythocyte sedimentary rate (ESR)
C-Reactive Protein (CRP)
สาร Interleukin
Lipoprotein - associated phospholipase A2 (Lp-PLA2)
2. การซ่อมแซมเนื้อเยื่อ (Tissue repair)
2.1 กระบวนการซ่อมแซม
2.1.1 การงอกใหม่ (Regeneration)
2.1.1.1 เซลล์ไม่คงตัว (Labile cells)
2.1.1.2 เซลล์คงสภาพ (Stable cells)
2.1.1.3 เซลล์ถาวร (Permanent or fixed cells
2.1.2 การหายของแผล (Healing)
2.1.2.1 ระยะที่่มีเลือดออกและการอักเสบ (Stage of hemorrhage & inflammation)
2.1.2.2 ระยะการสร้างเนื้อเยื่อเส้นใยหรือระยะงอกขยาย (Stage of fibroplastic)
2.1.2.3 ระยะเนื้อเยื่อเจริญเต็มที่หรือระยะปรับตัว (Maturational or remodeling phase)
การหายแบบปฐมภูมิ (Primary intention healing)
การหายแบบทุติภูมิ (Secondary intention healing)
การหายแบบตติยภูมิ (Tertialy intention healing)
2.2 ความผิดปกติหรือภาวะแทรกซ้อน (Complication) ของการซ่อมแซม
2.2.1 การสร้างแผลไม่แข็งแรงเพียงพอ
2.2.2 การสร้างแผลเปนมากเกินไป
2.2.3 การรบกวนหรือขัดขวางการทําหน้าทีของอวัยวะ
2.2.4 การเกิดเนืองอก
2.3 ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของแผล
2.3.1 อายุ
2.3.2 ภาวะโภชนาการ
2.3.3 การไหลเวียนของเลือดและการขนส่งออกซิเจน
2.3.4 ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย
2.3.5 ความเครียด
2.3.6 ปัจจัยอื่นๆ
3.การติดเชื้อ (Infection)
3.1 วงจรการติดเชื้อ (Chain of infection)
3.1.1 เชือทีเปนสาเหตุหรือเชื้อก่อโรค (Infectious or causative agent)
3.1.2 รังโรค (Reservoir)
3.1.3 ทางออกของเชื้อจากรังโรค (Portal of exit)
3.1.4 วิธีการแพร่กระจายเชื้อ (mode of transmission)
3.1.5 ทางเข้าของเชื้อที่เข้าสู่ร่างกาย (Portal of entry)
3.1.6 ความไวของบุคคลในการรับเชื้อ (Susceptible host)
3.2 ระยะของการติดเชื้อ
ระยะที่ 1 Incubation period หรือ ระยะฟักเชื้อ
ระยะที่ 2 Prodomal period หรือ ระยะที่มีอาการนํา
ระยะที่ 3 Acute period หรือ ระยะที่มีอาการ
และอาการแสดงรุนแรงมากขึ้น
Localized acute infection (การติดเชื้อที่สามารถระบุตำแหน่งได้ชัดเจน)
Systemic acute infection (การติดเชื้อที่มีผลต่อทุกส่วนของร่างกาย)
ระยะที่ 4 Convalescent period (ระยะพักฟื้น)
3.3 ชนิดของเชื้อก่อโรค (Classification of infections agents)
3.3.1 พรีออน (Prion)
3.3.2 ไวรัส (Viruses)
3.3.3 แบคทีเรีย (Bacteria)
Exotoxins
Eodotoxins
3.3.4 เชื้อรา (Fungi)
Superficial mycoses
Cutaneous mycoses
Subcutaneous mycoses
Systemic (deep) mycoses
3.5 ปรสิต (Parasites)
3.5.1 โปรตัวซัว
3.5.2 พยาธิ (Worms or flukes)
พยาธิใบไม้ในตับ
พยาธิตัวตืด
พยาธิตืดหมู (Taenia solium)
พยาธิตืดวัว (Taenia saginata)
4.ภาวะไข้ (Fever)
คือ ภาวะที่อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้นกว่าปกติประมาณ 1-4 องศาเซลเซียส
สารที่ทำให้เกิดอาการไข้
Pyrogens
ขั้นตอนที่ 1 เซลล์ที่ได้รับบาดเจ็บปล่อย Endogenous pyrogrns
ขั้นตอนที่ 2 ตั้งค่าอุณหภูมิร่างกายใหม่ที่ Hypothalamic pyrogens center
ขั้นตอนที่ 3 ร่างกายตอบสนองต่ออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น
ขั้นตอนที่ 4 อุณหภูมิร่างกายค่อยๆเพิ่มขึ้น ตอบสนอง set point ใหม่ของร่างกาย
ขั้นตอนที่ 5 การตอบสนองของร่างกายเพื่อลดอุณหภูมิลง (Temperature - reducing responses)
การตอบสนองของร่างกายเมื่อเกิดไข้
1.Prodromal stage
อาการปวดศีรษะ อ่อนเลีย
2.Chill stage
ขนลุก รู้สึกหนาว มีอาการสั่น
Flush stage
ผิวกายเริ่มแดง อุ่นขึ้น
4.Defervesceence stage
มีไข้สูง เหงื่อออกมาก