Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงสูงและมีปัญหาสุขภาพ,…
บทที่ 7 การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงสูงและมีปัญหาสุขภาพ
7.1 ทารกที่มีอายุครรภ์หรือน้ำหนักตัวไม่เหมาะสมตามเกณฑ์
1.ทารกคลอดก่อนกำหนด
สาเหตุ
1.เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดเอง
2.เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดตามหลังการแตกของถุงน้ำคร่ำ
3.คลอดก่อนกำหนดโดยการชักนำการคลอดโดยมีข้อบ่งชี้
4.ครรภ์แฝด
ลักษณะของทารก
1.การเจริญเติบโตไม่สมบูรณ์
2.น้ำหนักตัวน้อย รูปร่างแขนขาขนาดเล็ก
3.กะโหลกศรีษะนุ่ม
4.รอยต่อกะโหลกศรีษะและขม่อมกว้าง
5.เปลือกตาบวมและนูนออกมา
6.ตามักปิดตลอดเวลา
7.ผิวหนังบางสีแดง เหี่ยวย่น
8.พบขนอ่อน
ภาวะแทรกซ้อน
1.Respiratory Distress Syndrome
2.Intraventricular hemorrhage
3.Retinopathy of prematurity
4.Hyperbilirubin, kernicterus
5.Patent Ductus Arteriosus
การรักษา
1.ประเมินการหายใจ ดูแลการหายใจ ให้สารลดแรงตึงผิวของปอด การให้ออกซิเจนและเครื่องช่วยหายใจ
2.ปรับอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับทารก
3.การให้สารน้ำและอิเล็กโตรไลท์
4.ให้ยาตามแผนการรักษา
2.คลอดเกินกำหนด
สาเหตุ
1.การตั้งครรภ์ครั้งแรก
2.การตั้งครรภ์ครั้งที่ 5 ขึ้นไป
3.มีประวัติการคลอดล่าช้า
ลักษณะของทารก
มีลักษณะตื่นตัว
ตาเปิดกว้าง
ลำตัวผอมยาว
ไขมันใต้ผิวหนังน้อย
อาจพบผิวหนังมีขี้เทา แห้งลอก
-ไม่มีไขมันหรือขนอ่อน เล็บยาว
ภาวะแทรกซ้อน
Perinatal asphyxia
Hypoglycemia
MAS
Polycythemia
Persistent pulmonary hypertension of the newborn
3.ทารกมีขนาดใหญ่กว่าอายุครรภ์
ภาวะแทรกซ้อน
Obstatric trauma
Hypoglycemia
Polycythemia
สาเหตุ
กรรมพันธุ์
เพศชายมักตัวใหญ่กว่าเพศหญิง
Hydrops fetalis
การรักษา
คาดคะเนขนาดทารกกับเชิงกรานมารดา อาจวางแผนผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
7.2 ทารกแรกเกิดที่มีภาวะหายใจลำบาก
Respiratory distress syndrome (RDS) เกิดจากปอดมีสารลดแรงตึงผิวไม่เพียงพอ
Transient tachypnea of the newborn (TTN) เกิดจากการบวมน้ำในปอดซึ่งเป็นผลมาจากการขจัดสารน้ำในถุงลมช้ากว่าปกติ
Meconium aspiration syndrome (MAS) เป็นภาวะที่ทารกมีอาการหายใจลำบากจากการสูดสำลักขี้เทาขณะคลอด
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด ภาวะที่ทารกหายใจลำบาก จากหัวใจพิการแต่กำเนิด ทารกมักจะมีอาการหายใจเร็ว โดยไม่มีการดึงรั้ง การเขียวยังคงอยู่แม้จะให้ออกซิเจน
การวินิจฉัย
สัญญาณชีพ โดยเฉพาะอัตราการหายใจ
การตรวจร่างกาย ลักษณะทรวงอก การหายใจ ปีกจมูกบาน เขียวคล้ำ
การรักษา
ให้ออกซิเจนทาง humidified high-flow nasal cannula (HHFNC) หรือ continuous positive airway
pressure (CPAP)
7.3 ทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลือง
Physiologic jaundice ภาวะตัวเหลืองจากเม็ดเลือดแดงของทารกแรกเกิดอายุสั้นกว่าจำนวนเม็ดเลือดแดงมากกว่า ทำให้ทารกแรกเกิดสร้างบิลลิรูบินมกกว่าผู้ใหญ่ 2- 3 เท่า
Pathological jaundice ภาวะตัวเหลืองชนิดผิดปกติ มีสาเหตุมาจากการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มขึ้น
การรักษา
การส่องไฟ (phototherapy)
การถ่ายเปลี่ยนเลือด (exchange transfusion)
Intravenous immunoglobulin
Phenobarbital
ภาวะแทรกซ้อน
ระยะเฉียบพลัน
1-2 วันแรกทารกจะมีอาการซึมหรือหลับมากกว่าปกติ ดูดนมได้น้อยลง ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง บางรายอาจมีร้องไห้เสียงสูง 2- 3 วัน ต่อมาทารกจะซึมมากขึ้นร่วมกับมีอาการกระสับกระส่าย ชักหลังแอ่น ไม่ดูดนม
ระยะเรื้อรัง
พบความผิดปกติของระบบประสาทอย่างถาวร choreoathetoid
movement, sensorineutral hearing loss, vertical gaze palsy และ dental enamel hypoplasia
7.4 ทารกที่บาดเจ็บจากการคลอด
3 ชนิด
1) การบาดเจ็บต่อเน้ือเยื่อ (soft tissue injury)
2) การบาดเจบ็ ต่อกระดูก(skeleton injury)
3) การบาดเจ็บต่อระบบประสาท(nerve injury)
การรักษา
การรักษาเฉพาะที่ห้ฉีด vit K 1mg เข้ากล้าม ถ้ามีผิวหนังถลอกให้ฟอกด้วยสบู่ฆ่าเชื้อ
การรักษาเฉพาะโรค ถ้าเลือดคั่งในสมองจำเป็นต้องเจาะออก
ทำกายภาพบำบัด ในทารกที่ได้รับบาดเจ็บต่อเส้นประสาท
7.5 ทารกแรกเกิดที่มีภาวะติดเชื้อ
การติดเชื้อในระยะแรก
เกิดขึ้นก่อน 72 ชม. หลังเกิด เป็นการติดเชื้อที่ติดจากมารดาสู่ทารกในครรภ์
การติดเชื้อในระยะหลัง
เกิดการติดเชื้อระหว่าง 72 ชม.หรือสัปดาห์แรกหลังเกิด ซึ่งมักเป็นการติดเชื้อในโรงพยาบาล โดยการปนเปื้อนจากทารกรายอื่น
อาการ
มีไข้
ซึม เคลื่อนไหวน้อยลง ชัก
ไม่ดูดนม ท้องอืด สำรอกนม
หัวใจเต้นเร็วมากกว่า 180ครั้ง/นาที
หายใจเร็ว หายใจหน้าอกบุ๋ม จมูกบาน
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ
Intravenous immunoglobulin, IVIG เพื่อเพิ่ม Ig G
การรักษาประคับประคอง electrolyte imbalance
Necrotizing Enterocolitis (NEC)
อาการ
Stage 1 Suspected NEC ทารกรับนมไม่ได้ อาเจียนมีน้ำดีหรือเลือดปน ซึม หยุดหายใจ
Stage 2 Definite NEC ท้องอืดมากขึ้น ถ่ายอุจจาระมีเลือดปน
Stage 3 Advanced NEC อาการเหมือนระยะที่ 2 ร่วมกับสัญญาณชีพแย่ลง septic shock film
abdomen พบ ascitis
การรักษา
ระยะที่ 1,2 รักษาโดยไม่ผ่าตัด โดยให้NPO 1-2 สัปดาห์ ใส่ NG tube ดูดของเหลวและลมออกจากกระเพาะอาหาร ร่วมกับให้สารน้ำและสารอาหารทางหลอดเลือดดำตามการสูญเสียและความต้องการในแต่ละวัน
ระยที่ 3 รักษาโดยการผ่าตัด
Anastomosis ในรายที่ทารกมีลำไส้เน่าเสียไม่มาก
Ostomy ในรายที่มีลำไส้เน่าเสียความยาวมากกว่า5-10 ซม.
7.6 ทารกแรกเกิดที่มารดาเป็นเบาหวาน
ผลกระทบต่อทารก
ปัญหาจากการคลอด ทารกตัวใหญ่ ได้รับบาดเจ็บจากการคลอด
ปัญหาในระยะหลังเกิด น้ำตาลในเลือดต่ำ Hyaline membrane disease , Hyperbilirubinemia, Polycythemia , Hypocalcemia และ hypomagnesenemia
การรักษา
การบาดจเ็บจากการคลอด ให้การรักษาด้วยการผ่าตัด หรือกายภาพบำบัด
ภาวะน้ำตาบในเลือดต่ำ ควรตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดหลังเกิด 1-2 ชั่วโมง ให้ทารกดูดนมเร็วและให้นมทารกบ่อยขึ้นทุก 2 ชม. และติดตามระดับน้ำตาลก่อนให้นมมื้อต่อไป
Hypocalcemia ให้ 10% calcium gluconate ร่วมกบั สารน้า 40-60 mg/kg/day
หากทารกมีภาวะเลือดข้น ใหส้ ารน้าใหเ้ พียงพอ (Hct > 65%) หรือทาการเปลี่ยนถ่ายเลือดบางส่วน
ด้วย Normal saline(Hct > 70%)
ทารกที่คลอดก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์
ทารกที่คลอดเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 42 สัปดาห์
ภาวะติดเชื้อในลำไส้เล็กทำให้เกิดการอักเสบ เน่า