Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พัฒนาการวิชาชีพพยาบาลในต่างประเทศ - Coggle Diagram
พัฒนาการวิชาชีพพยาบาลในต่างประเทศ
มุมมองของสังคมต่อวิชาชีพพยาบาล
ค.ศ. 1854-1919
มีลักษณะเหมือนนางฟ้า (Angel of mercy)
เป็นผู้มีความปราณี มีจริยธรรม มีความเมตตากรุณา เสียสละตนเองในการทำงานและอุทิศตน
ให้การช่วยเหลือผูเ้จบ็ ป่วยและเป็นผทู้ี่มีเกียรติน่าเลื่อมใสศรัทธา
ค.ศ. 1920-1929
สตรีผู้จงรักภักดี (Girl Friday)
ผู้รับใช้จงรักภักดีพร้อมที่จะรับใช้แพทย์ซึ่งได้รับอิทธิพล
จากยุคฮิพโพเครตีส (Hippocrates)
อยู่ภายใต้การควบคุมของแพทย์ทำงานทุกอย่างตามแพทยเ์ห็นสมควรว่าพยาบาลทำได้
ค.ศ. 1930-1945
วีรสตรี (Heroine)
เป็นผู้ที่มีความกลา้หาญ ไม่กลัว
มีเหตุผล มีความคิดดีมีมนุษยธรรม และมีใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
พยาบาลต้องให้การดูแลทหาร และผู้ได้รับบาดเจ็บในสงคราม
ค.ศ. 1946-1965
ภรรยาหรือมารดา (Wife/ Mother)
ความเป็นมารดา มีความเห็นอกเห็นใจไม่กล้าแสดงออก
เป็นภรรยาและคอยเลี้ยงดูบุตรไม่นิยม
ออกไปทำงานนอกบ้าน
ค.ศ. 1966-1982
เปรียบพยาบาลเป็นวัตถุทางเพศ (Sex object)
ถูกมองว่าเป็นผู้หญิงที่มีลักษณะฉาบฉวย ปล่อยตัว เชื่อถือไม่ได้
ค.ศ. 1983-1989
นักวิชาชีพ (Careerist)
ภาพพยาบาลที่มีความรู้เฉลียวฉลาด มีการตัดสินใจที่ดีเป็นตัวของตัวเอง
มีเหตุผล มีความหนกัแน่น กลา้แสดงออก
ค.ศ. 1994
ผู้ที่อยู่ในกฎระเบียบ
ค.ศ.2006-ปัจจุบัน
นางฟ้าผู้เมตตา และนักวิชาชีพ
ผู้ที่อยู่ในกฎระเบียบ
การพัฒนาองค์การทางวิชาชีพ
การพัฒนาบุคลากรในวิชาชีพใหมีภาวะผู้นำมากขึ้น
ช่วยพัฒนาคนในวิชาชีพให้เป็นที่ยอมรับในสังคม
ผู้นำ
ผู้นำคือสิ่งที่ทำให้องค์กรประสบความสำเร็จ
มีพฤติกรรมความเป็นวิชาชีพ
พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
มุ่ฝมั่นให้เกิดการพัฒนาต่างๆ
ภาวะผู่้นำด้านวิชาชีพพยาบาล
ผู้สร้างสรรค์และพัฒนาวิชาชีพให้โดเด่นและเป็นที่ยอมรับ
ผู้ที่แสดงความเป็นวิชาชีพของตนเองให้เห็นถึงความสามาร๔ในวิชาชีพพยาบาล
นำองค์กรพยาบาลและพัฒนาวิชาชีพการพยาบาลไปในทางที่ดีขึ้น
สร้างเอกภาพ และเอกสิทธิ์ของวิชาชีพ
มีส่วนร่วมการดำเนินกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพ
สู่การพัผมนาวิชาชีพอย่างเป็นรูปธรรม
การวิจัยทางการพยาบาล
การวิจัยทางการพยาบาลเกิดขึ้นมารพร้อมกับการก่อตั้งวิชาชีพพยาบาล
มิสฟลอเรนซ์ ไรติงเกล
เน้นให้เห็นคุณค่าของการสังเกตและการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง
การวิเคราะห์ข้อมูลอย่างมีระบบ
ใช้การวิจัยเพื่อพิสูจน์ให้เห็นวิธีการลดอันตรายของทหารจากการบาดเจ็บในสงคราม
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับผู้ป่วย
อากาศที่บริสุทธิ์
แสงสว่าง
ความอบอุ่น
สมัยภายหลังมิสฟลอเรนซ์ ไรติงเกล
ค.ศ.1900-1949
มีงานวิจัยเกิดขึ้นเล็กน้อย
การวิจัยมุ่งเน้นการศึกษาพยาบาลมากกว่าการปฏิบัติ
ช่วงปลายเริ่มมีการวิจัยเกี่ยวกับการบริหารและการบริหารทางการพยาบาล
ค.ศ.1900
มีวารสารทางการพยาบาลชื่อ "American Jonmal of Nursing"เกิดขึ้นครั้งแรก
มีการวิจับแบบกรณีศึกษา
ค.ศ.1950-1959
มีการเสนอแนะให้มีการพัฒนาการศึกษาในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก
เร่งพัฒนาการวิจัยทางพยาบาลได้มีกิจกรรมการวิจัยที่สำคัญ
ค.ศ.1952
เริ่มมีการตัั้งแผนกวิจัย และสถิติขึ้นในสมาคมแห่งชาติอเมริกา
มีศูนย์การวิจัยทางการพยาบาล
ผลการวิจัยทางการพยาบาล ทำให้มีการศึกษาระยะยาวเป็นเวลา 5 ปี
ได้ตีพิมพ์ผลการศึกษาในชื่อเรื่อง Twenty thousands nurses tell their stories
การวิจัยด้านการศึกษาพยาบาล เพื่อหาววิธีการศึกษาพยาบาลที่จะได้พยาบาลที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด
ผู้นำทางการพยาบาล คือ Henderson และ Abdellah
นักการศึกษาพยาบาลมีการเริ่มนำวิจัยมาสอนในหลักสูตรระดับปริญญาตรีในปี ค.ศ.1955
ค.ศ.1960-1969
มีการพัฒนาศาสตร์ทางการพยาบาลอย่างจริงจัง
นักทฤษฎีทางการพยาบาลหลายท่านเริ่มมีการเขียนหนังสือแสดงแนวคิดทางการพยาบาล
ระยะนี้เป็นการวิจัยด้านการปฏิบัติการพยาบาล
ส่วนใหญ่เป็นการวิจัยของนักศึกษาปริญญาโทหรือพยาบาลที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท
เรื่องที่วิจัยส่วนใหญ่เป็นเรื่องของการตอบสนองของผู้ป่วย
ค.ศ.1970-1979
มีการวิจัยด้านการปฎิบัติการพยาบาลที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว
มีการจัดตั้งหลักสูตรปริญญาเอกทางการพยาบาลขึ้น
มีผลการวิจัย 275 เรื่อง
71 เรื่องเป็นการปฏิบัติการพยาบาล
46% เป็นเรื่องเทคนิคการพยาบาล
25% เป็นวิธีการให้รักษา
29% เป็นการดูลแด้านสุขภาพจิต
ค.ศ.1980-1989
วิจัยทางการพยาบาลได้เจริญก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากมีหลักสูตรปริญญาเอกเพิ่มขึ้นกว่า 40 หลักสูตร
งานวิจัยส่วนใหญ่เป็นการวิจัยทางคลินิก
ส่วนใหญ่จะเป็นเชิงทดลอง หรือกึ่งทดลองเพิ่มมากขึ้นกว่า 50%
การศึกษาทางการพยาบาล
ก่อนสมัยของไนติงเกล
เรียนรู้จากสัญชาตญาณความเป็นแม่
สังเกตจากพฤติกรรมของสัตว์ป่า
สืบทอดมาจากการดูแลของคนในครอบครัว
มีใจรักแต่ยังไม่มีความรู้มากพอ
สมัยนั้นยังไม่ถูกยอมรับเหมือนอาชีพอื่นๆ
การปฏิรูปทางการสังคม
ผู้เริ่มหลักสูตรครั้งแรก
นักบวชนิกายลูเธอร์ ชื่อ ธีโอดอร์ ไฟลด์เนอร์
สร้างโรงเรียนฝึกหัดพยาบาลขึ้น
ในปี ค.ศ.1826
ต้องอายุ 18 ปี มีความประพฤติเรียบร้อย
แพทย์เป็นสอนเกี่ยวกับทฤษฎี
ได้รับหมอบหมายให้รับผิดชอบผู้ป่วย โดยหมุนเวียนทุกแผนก
ต้องสวยเครื่องแบบ และได้รับเบี้ยเลี้ยงเล็กน้อย
สมัยไนติงเกล
มีการขยายไปถีงการเรียนปริญญาเอก
งานบริการ
ต้องเข้มแข็ง
คล่องแคล่วว่องไว
มีความเชื่อมั่นในตนเอง
รักในเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน
มีวินัย
มีการก่อตั้ง
โรงเรียนพยาบาลไนติงเกลที่โรงพยาบาลเซนต์โทมัส
เริ่มมาจากโบสถ์คริสต์ทางศาสนา
การบริหารทางการพยาบาล
ยุคเริ่มต้นศาสนาคริสเตียน
การพยาบาลจะอยู่ในความดูแลของชี หรือสตรีใจบุญ
ให้การพยาบาลในโบสถ์หรือโรงพยาบาล
ต้นกำเนิดมาจากการพยาบาลในลักษณะชุมชน
การถ่ายทอดความรู้เป็นการบอกและให้ทำตาม
สมัยโบราณก่อนคริสต์ศักราช
ไม่มีการกล่าวถึงวิชาชีพพยาบาลที่แน่นอน
ผู้หญิงหรือคนเป็นแม่จะทำหน้าทีี่คอยปกป้องดูแลคนในครอบครัว เด็ก หรือคนชรา
เกิดจากสัญขาตญาณของการรักตนเอง
ยุคกลางระยะต้น
เริ่มบุรุษมาทำการพยาบาล ผลมาจากการทำสงครามครูเสด
เกิดกาฬโรคระบาด จึงมีการว่าจ้าง งานพยาบาลจึงเป็นหน้าที่ของคนรับใช้
ยุคเรเนอซองค์
มิสฟลอเรนซ์ ไรติงเกล
ได้รับการขนานนามและเป็นที่รู้จักว่า "สุภาพสตรีแห่งดวงประทีป" (Lady of the Lamp) เนื่องจากภาพลักษณ์ติดตาของผู้คนที่เห็นกิจวัตรการตรวจดูแลผู้ได้รับบาดเจ็บแม้ยามค่ำคืน
การอุทิศตนระหว่าง สงครามไครเมีย
เป็นผู้ก่อกำเนิดวิชาชีพพยาบาลและเป็นมารดาแห่งวิชาชีพพยาบาลสากล
เรียกการพยาบาลในยุคนี้ว่า ยุคมืด ตั้งแต่ค.ศ.1600-1900
ยุคแรกในสหรัฐอเมริกา
มีการสวดมนต์อ้อนวอนต่อผู้เป็นเจ้าในการรักษา
พระทำหน้าที่เป็นผู้รักษา
มีการพัฒนาขึ้นเช่นเดียวกับฝั่งยุโรป