Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่ 2 ของการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลในระยะที่ 2 ของการคลอด
การเปลี่ยนเเปลงทางสรีรวิทยา
ในระยะที่ 2 ของการคลอด
1.1 เเรงผลักดันเด็กทำให้เกิดการหดรัดตัวของมดลูกถี่ขึ้น เเรงขึ้น
ส่งผลให้ส่วนนำของทารกเคลื่อนต่ำไปถ่างขยายปากช่องคลอดเกิด Ferguson' reflex
Ferguson' reflex ทำให้เกิดการเปลี่ยนเเปลงพร้อมคลอด
ทำให้ oxytoxin หลั่งเพิ่มขึ้นเกิดมดลูกหดรัดตัวเเละปากมดลูกเกิดการขยายเเละบางเพิ่มมากขึ้น
1.2 เเรงผลักดันเด็กทำให้เกิดการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้อง
เเละ Diaphragm คือ เเรงเบ่งของเเม่ซึ่งมีความสำคัญต่อการช่วยขับทารกออกมา (กรณีเเม่ไม่มีเเรงเบ่งจะทำให้เกิดความล่าช้าของการคลอด)
Pushing reflex คือ มารดารู้สึกอยากเบ่งเพราะส่วนนำเคลื่อนต่ำลงมากด Plevic floor และ Rectum รู้สึกเหมือนปวดถ่ายอุจจาระ มดลูกหดรัดตัวเป็น Voluntory ในระยะเเรกเกิดขึ้นในอำนาจควบคุมของจิตใจจากนั้นเกิด Plevic floor ถูกยืดมากจนเป็น Involuntory
เกิดการเปลี่ยนเเปลงของมดลูก
เกิดการเปลี่ยเเปลงที่ตัวทารกถุงน้ำคร่ำเเตกทำให้เด็กทารกสัมผัสผนังมดลูกมากขึ้น อาจทำให้เกิด CPD สัดส่วนของตัวเด็กไม่สัมพันธ์กับช่องเชิงกรานเเม่
การยืดขยายของพื้นเชิงกราน ช่องทางคลอดเกิดการฉีดขาด ฝีเย็บเเละทวารหนักจะโป่งตึง
การประเมินภาวะสุขภาพ
ระยะที่ 2 ของการคลอด
ประเมินสภาวะทั่วไปของผู้คลอด Vital sign Weeknese
Bladder floor กระตุ้น catheter
การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก ประเมินทุก 15 นาที หากมีภาวะเสี่ยงต้องประเมินทุก 15 นาที
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำเเละการหมุนภายในของทารก
การประเมินระยะเวลาของการคลอด ครรภ์เเรกใช้เวลา 1-2 ชม.
ครรภ์หลังใช้เวลา 30 นาที - 1 ชม.
ประสิทธิภาพการเบ่งของผู้คลอด
เบ่งถูกต้องทวารหนักจะตุง ยืดขยายและกลับเข้าที่เมื่อหยุดเบ่ง
ขณะเบ่งส่วนนำจะเคลื่อนต่ำลงมาเรื่อยๆ
การเบ่งที่มีประสิทธิภาพให้สูดลมหายใจเข้าเเละเบ่งยาว 6-8 วินาที
ปฏิกิริยาตอบสนองด้านจิดสังคม
ครรภ์เเรกจะทำให้ผู้ป่วยกลัวพยาบาลควรอยู่เป็นเพื่อน อาจมีพฤติกรรมส่งเสียงร้อง ท้อเเท้หมดหวัง โกรธ ไม่สนใจสิ่งเเวดล้อมสนใจตนเองมากกว่าทารก
การประเมินสภาวะทารกในครรภ์
ควรฟัง FHS ทุก 5 นาทีใช้ drop tone ฟังขณะมดลุกคลายตัว
ค่าปกติของ FHS 100-160 bpm บันทึกการเปลี่ยนเเปลงทุกครั้ง
หาก FHS ผิดปกติให้ออกซิเจน 4-5 ลิตร/นาที
การประเมินการปรับตัวทารกตามกลไกการคลอด
ระยะทารกผ่านช่องเชิงกรานเเนวล่าง Internal rotation, External rotation
ประเมินด้วยการ PV
การดูเเลมารดาระยะที่ 2
ของการคลอด
การดูเเลเกี่ยบวกับการดำเนินการคลอด สังเกต Uterine contaction, station , Amniocentesis และการเบ่งคลอด
การเตรียมสถานที่ เตียงคลอดควรได้รับการดูแลให้สะอาดอยู่เสมอบางสถานที่ต้องเตรียมโคมไฟส่อง
การเตรียมอุปกรณ์ setการเตรียม set คลอด set ผ้าประกอบด้วย ผ้าสี่เหลี่ยม ผ้าปูหน้าท้อง ผ้าปูรองคลอด ปูหน้าขา เช็ดตัวทารก ผ้าคลุมset ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง
ถุงเท้า เสื้อกาวด์ ผ้าเช็ดมือ ถุงือ
set อุปกรณืในการทำคลอด กกรไกรตัดฝีเย็บ, กรรไกรตัดสายสะดือ Artery camp, Tooth forceps, ผ้า safe perineum, cord ring, สำลี ถ้วยใส่น้ำยา ลูกสูบยาง ชามกลมเเละชามใส่รก
set ในการเย็บแผล syring 5-10,Tooth forceps cc, Needle holder, cutting and not cutting , catgut No.2/10, กรรไกรตัดไหม, Xylocain1-2% 5-10 cc, สำลีก้อนใหญ่ เข็มเบอร์18 อุปกรณืทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ภายนอก
set scrub ประกอบด้วย ชามกลมเล็ก ใหญ่อย่างละ 1 ใบ สำลีก้อนใหญ่ น้ำยา providind scrub, Hibiscrub , NSS
การเตรียมตัวผู้ทำคลอด เปลี่ยนเสื้อผ้า รองเท้า สวมหมวก ผูก mask ใส่เเว่นตา ผ้ายางกันเปื้อน รองเท้าบู๊ท ล้างมือเเบบ sterile สวมเสื้อกาวน์ ใส่ถุงมือสั้น
การเตรียมผู้คลอด การจัดท่าผู้ป่วยในการคลอดเเละการทำความสะอาดผู้คลอด
การทำคลอดปกติ
การพิจารณาย้ายผู้คลอดเข้าห้องคลอด
ครรภ์แรกผู้คลอดเมื่อปากมดลูกเปิด 10 ซม. อยากเบ่ง เจ็บครรภ์ถี่
ครรภ์หลังเมื่อผู็คลอดปากมดลูกเปิด 5-6 ซม.
รายที่มีประวัติคลอดเร็วควรย้ายตั้งเเต่ปากมดลูกเปิด 5-6 ซม.
การเข้า case ทำคลอด
ครรภ์เเรกเข้าเมื่อพบ head seen
ครรภ์หลังเข้าเมื่อปากมดลูกเปิด 10 ซม.
มีประวัติคลอดเร็วเข้าเมื่อปากมดลูกเปิด 7-8 ซม.
การช่วยเหลือทารกภายหลังคลอดทันที
เมื่อทารกคลอดหมดตัวให้ขานเวลาคลอด ผู้ช่วยคลอดเขียนป้ายผูกข้อมูก
ประเมินสภาวะทารกด้วย APGATR score
วางทารกให้ตะเเคงหันหลังชิดปากมดลูก
ดูดมูกจากปากเเละจมูก
เช็ดตัวทารกด้วยผ้าขนหนูเเห้ง