Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูเเลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล - Coggle Diagram
การดูเเลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
นิยามศัพท์
Acute illness การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นเร็วอาการรุนเเรงต้องการการรักษาทางยา เกืดขึ้นในระยะสั้น
Chronic illness การเจ็บป่วยที่ขัดขวางการทำหน้าที่ของร่างกายติดต่อกันมากกว่า 3 เดือน ใน 1ปี
Home care การดูเลเด็กที่ต้องการดูเเลขับซ้อนในสถานที่อยู่อาศัย เพื่อส่วเสริม คงไว้หรือฟื้นฟูสุขภาพให้สามารถพึ่งตนเองได้
ชนิดของความปวดที่พบบ่อย
ปวดเรื้อรัง
ความไม่สุขสบายเป็นระยะเวลานานกว่า 6 Mo.
ปวดเป็นระยะ
ปวดท้อง
ปวดหัว
ปวดเฉียบพลัน
ปวดจากการผ่าตัด
ปวดจากหัตถการรักษาพยาบาล
ปวดจากมะเร็ง
ปวดจากการลุกลามของเซลล์มะเร็งเป็นความปวดเฉพาะที่
การจัดการความปวด
ระดับคะแนน 4-6 รายงานแพทย์เพื่อให้ยาในกลุ่ม NSIDS หรือ Opioids ชนิดรับประทาน
ระดับคะเเนน 7-10 รายงานแพทย์เพื่อให้ยาในกลุ่ม Opioids ชนิดรับประทาน หรือชนิดฉีด
ระดับคะแนน 0-3 ให้ยาในกลุ่ม Acetaminophen
ภาวะวิกฤติ
เน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลางจึงเป็นหัวใจ สำคัญของการดูเเลผู้ป่วยประเภทต่างๆ รวมถึงผู้ป่วยวิกฤติ ระยะสุดท้าย เพื่อให้ครอบครัวได้มีโอกาสร่วมดูเเลผู้ป่วย
ความเจ็บป่วยในระยะวิกฤติเป็นสิ่งที่คุกคามของชีวิตของผู้ป่วยโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ป่วยเด็ก ต้องเผชิญความเจ็บปวดจากโรคและกระบวนการการดูรักษา หัตถการต่างๆ
stress and Coping
เป็การที่บุคคลรับรู้ว่าสัมพันธภาพระหว่างตนเองกับสิ่งเเวดล้อมนั้นเปลี่ยนแปลงไปในทางที่กำลังจะเกิดอันตรายขึ้นกับความผาสุกหรือสภาวะสมดุลของตนเอง
เป็นความไม่สมดุลระหว่างแหล่งประโยชน์ของกลไกการปรับตัวของบุคคลกับความต้องการ หรือเรียกร้องจากสิ่งเเวดล้อม
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเครียดในเด็กป่วยเเละเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
การบาดเจ็บของร่างกายเเละความเจ็บปวด
ความกังวลจากการเเยกจาก
การสูญเสียการควบคุมตนเอง
Body image
ความสามารถของตนเอง เป็นการแสดงความรู้สึกของบุคคลต่อรูปร่าง ว่า สวย หล่อ สมส่วนการเจริญเติบโต
การเจ็บป่วยที่ส่งผลทำให้ภาพลักษณ์เปลี่ยนแปลงมีผลกระทบให้เกิดความกังวล ความกลัว ความมั่นใจ
ความรู้สึกรับรู้ของบุคคลต่อร่างกายของตนเอง รวมทั้งทัศนคติต่อบุคลิกภาพ
Death & Dying
มีคนจำนวนหนึ่งที่อาจจะช่วยประคับประคองเยียวยา ให้ครอบครุมปัญหาทางกาย เช่น การควบคุมความปวด
การตอบสนองความต้องการด้านจิตสังคม เเละจิตวิญญาณที่เหมาะสมในผู้ป่วยแต่ละราย รวมทั้งการประคับประคองช่วยเหลือครอบครัวให้ผ่านพ้นภาวะยุ่งยากลำบาก
สำหรับคนกำลังจะตายเป็นสิ่งที่หนักหนาสาหัสมากยิ่งกว่า
พัฒนาระบบการดูเเลให้ผู้ป่วยระยะสุดท้าย เเละครอบครัวเข้าถึงบริการเเละมีคุณภาพชีวิตที่ดีที่สุด
ความตายเป็นเรื่องที่ยากหนักหนา
ปัจจัยที่มีผลต่อการับรู้เเละตอบสนองต่อความปวด
ระดับความรู้สึกตัว
สภาพร่างกาย ความเหนื่อยล้า อ่อนเพลีย
สิ่งเเวดล้อม
อารมณ์เเละจิตใจ
สังคมเเละวัฒนธรรม
อายุ
ค่านิยมเเละเจคติ
เชื้อชาติ
ความรุนเเรงของสิ่งกระตุ้น
กลไกการเกิดความปวด
ตัวรับความรู้สึกปวด
อยู่ที่ปลายประสาทอิสระใต้ผิวหนัง
สัญญาณประสาท
เป็นตัวสื่อประสาทจากตัวรับความรู้สึกปวดนำไปสู่ไขสันหลัง
ตัวกระตุ้นความปวด
ตัวกระตุ้นทางกายภาพ
ตัวกระตุ้นทางเคมี