Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลมารดาในระยะที่ 2 ของการคลอด - Coggle Diagram
การดูแลมารดาในระยะที่ 2 ของการคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินทุก 15 นาที
หากมีหดรัดตัวของมดลูกมากกว่าปกติชนิดไม่คลาย (tetanic contraction)หากมีbandl’s ring ร่วมด้วยอาจเกิดภาวะมดลูกแตกได้
แรงเบ่ง (bearing down effort)
ผู้คลอดเบ่งแล้วการคลอดไม่ก้าวหน้าอาจเกิดจากทารกในครรภ์อยู่ในท่าที่ผิดปกติหรือเชิงกรานไม่กว้างพอ
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
ประเมินระดับส่วนนำของทารก
สภาวะร่างกายของผู้คลอด
คลอดมีภาวะอ่อนเพลีย หมดแรง ขาดน้ำ ขาดอาหารหรือไม่
ประเมินระดับความเจ็บปวดและพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดของผู้คลอด
กิจกรรมการพยาบาล
อาการเป็นตะคริว ให้ยืดกล้ามเนื้อบริเวณที่เป็นให้กับผู้คลอด
ท่านอน: มดลูกหดรัดตัวและมีแรงเบ่ง ควรนอนหงายชันเข่าขึ้น มือทั้งสองข้างจับที่ขอบเตียง/ ข้อเท้าทั้งสองข้างเพื่อช่วยให้ทารก เคลื่อนต่ำได้เร็วขึ้น
ให้กำลังใจผู้คลอด พร้อมทั้งฝึกซ้อมวิธีการเบ่งที่ถูกต้อง
การดูแลเกี่ยวกับการดำเนินการคลอด
การเจาะถุงน้ำ (Puncture of membranes)
แนะนำเกี่ยวกับการเบ่งที่ถูกวิธี
สังเกตการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก
ระยะแรกของการเบ่ง ควรนวดบริเวณ sacrum โดยให้ผู้คลอดนอนตะแคงซ้าย พยาบาลยืนอยู่ข้างหลัง นวดลึกๆ เป็นวงกลมที่บริเวณ sacrum ใช้มือกดให้คงที่สม่ำเสมอไม่กดลึกจนเกินไป
กระเพาะปัสสาวะ
หากกระเพาะปัสสาวะเต็ม จะทำให้มดลูกหดรัดตัวไม่ดีและขัดขวางการเคลื่อนต่ำ
ถ่ายเองไม่ได้ควรสวนปัสสาวะให้ตามความจำเป็น โดยใช้นิ้วมือสอดเข้าช่องคลอดเพื่อดันศีรษะทารกให้ก้มต่ำลง
. สภาวะจิตใจของผู้คลอด
ประเมินความรู้สึกวิตกกังวล และความหวาดกลัวของผู้คลอดต่อการคลอด
สภาวะของทารกในครรภ์
ปกติประมาณ 110-160 ครั้งต่อนาที
อัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์<100 ครั้ง/นาที หรือ>160 ครั้ง/นาที หรือจังหวะการเต้นไม่สม่ำเสมอแสดงว่าทารกในครรภ์มีภาวะขาดออกซิเจน
ฟังเสียงของหัวใจทารกในครรภ์ทุก 5-15 นาทีหรือทุกครั้งที่มดลูกคลายตัว