Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การนำผลประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้, นางสาวน้ำทิพย์ ยอดช้าง 60204091 Sec.7 -…
การนำผลประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้
บทนำ
เป้าหมายเดียวกันคือการพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการกำกับ ติดตามการดำเนินงานโดยหน่วยงานต้นสังกัดอย่างสม่ำเสมอและ ต่อเนื่อง
มาตรา 51 กำหนดว่าในกรณีที่ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใด ไม่ได้ตามมาตรฐานที่กำหนดให้สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (สมศ.) ให้จัดทำข้อเสนอแนะการปรับปรุงแก้ไขต่อหน่วยงานต้นสังกัด
หลักการในการนำผลประเมินไปใช้
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา การพัฒนาสาระ และกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
คณะกรรมการบริหาร สมศ.จึงแต่งตั้งคณะอนุกรรมการติดตามการนำผลประเมินไปใช้ โดยมีวาระ 2 ปี โดยมีหน้าที่ติดตามและเร่งรัดหน่วยงานต้น สังกัด ในการนำผลประเมินไปกำหนดนโยบายและแนวทางในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง
วัตถุประสงค์ในการนำผลประเมินไปใช้
2)เพื่อให้หน่วยงานต้นสังกัดใช้ในการกำกับ ติดตามการนำผลการประเมิน ไปใช้และใช้ผลประเมินในการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด
1)เพื่อเป็นแนวทางให้สถานศึกษานำผลการประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้ พฒันาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
3)เพื่อส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการสร้างพลังขับเคลื่อนการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ได้ มาตรฐานที่พึงประสงค์
4)กรอบการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการนำผลประเมินไปใช้
4.2สถานศึกษาที่ไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพ
หากไม่มีกาารทักท้วงแผนพัฒนาคุณภาพจากหน่วยงานต้นสังกัด สถานศึกษาดำเนินงานแผนและขอรับการประเมินซ้ำได้ ภายใน 2 ปี นับตั้งแต่สถานศึกษาส่งแผนพัฒนาคุณภาพ ตามข้อเสนอแนะมายังหน่วยงานต้นสังกัดและ สมศ.
สถานศึกษาจะต้องจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพตามข้อเสนอแนะของกรรมการประเมินส่งหน่วยงานต้นสังกัดและ สมศ. ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งผลการประเมินครั้งแรกจาก สมศ.
4.3เกณฑ์การรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของ สมศ.
เกณฑ์การตัดสินผลการประเมนิคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เกณฑก์ารตัดสินผลการประเมนิคุณภาพภายนอกด้านการอาชีวศึกษา
เกณฑก์ารตัดสินผลการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา
4.1สถานศึกษาที่ผ่านการประเมินได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพ
วางแผนและดำเนินการในการพัฒนาคุณภาพให้ดียิ่งขึ้น การจัดทำแผนและการดำเนินการพัฒนาหน่วยงานต้น สังกัดระดับเขตพื้นที่/จังหวัด และผู้บริหารสถานศึกษา ต้องมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา
แนวปฏิบัติในกรณีที่สถานศึกษาได้รับรองมาตรฐานและคุณภาพ
ในกรณีที่สถานศึกษาได้รับการรับรองมาตรฐาน สถานศึกษาควรนำข้อเสนอแนะของ ผู้ประเมินคุณภาพภายนอกไปใช้ประกอบในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป แผนการพัฒนาดังกล่าวเป็นแผนการดำเนินการภายในของสถานศึกษา
หน่วยงานต้นสังกัดควรติดตามผลการดำเนินการภายในของสถานศึกษาเพื่อติดตามว่าสถานศึกษานำข้อเสนอของผู้ประเมินคุณภาพภายนอกไปพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป
กรณีสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมินตัวบ่งชี้ที่ 5 เรื่อง ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาซึ่งใช้ผลทดสอบระดับชาติ (O-NET) ให้สถานศึกษาจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาส่งหน่วยงานสังกัดและ สมศ.
การดำเนินงานการนำผลประเมนิไปใช้ของสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานระดับนโยบาย
หน่วยงานต้นสังกัดแต่ละแห่งต้องมีระบบและกลไกการติดตามการ นำผลการประเมินไปใช้ที่ชัดเจน เพื่อให้การดำเนินงานภายในมีช่อง ทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ และมีหน่วยงานรับผิดชอบที่จะ ประสานงานกับหน่วยงานภายนอกได้
การนำผลประเมนิคุณภาพภายนอกไปใช้ในมิติอื่นๆ
7.2 มิติการเป็นเครื่องมือของรัฐบาล
หน่วยงานระดับชาติและรัฐบาล ใช้ผลการประเมินอภิมานคุณภาพภายนอกในการกำหนด นโยบาย วางแผน และจัดสรรงบประมาณให้กับการศึกษา และการจัดกลุ่มข้อมูล เช่น รายงานผลการประเมิน
อภิมานคุณภาพการศึกษาเป็นรายจังหวัด เป็นข้อมูลประกอบการวางแผนพัฒนาจังหวัด ท้องถิ่น เป็นการบูรณาการกับการพัฒนาด้านอื่นๆ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รายงานผลการประเมิน อภิมานการประเมินคุณภาพแต่ละ ระดับการศึกษาแสดงผลลัพธ์การศึกษาในภาพรวมและการเปลี่ยนแปลงระดับคุณภาพซึ่งหน่วยงานระดับนโยบาย
7.3 มิติด้านวิชาการ
บุคลากรทางการศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้ฐานข้อมูล คุณภาพสถานศึกษาทุกระดับในประเทศ เพื่อสามารถนำไปใช้ในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล ติดตามการดำเนินงานเฉพาะเรื่องที่เป็นนโยบายด้านการศึกษา เช่น การวิเคราะห์ข้อมูลผลการประเมินคุณภาพภายนอกตามกลุ่ม สถานศึกษาเป้าหมาย เพื่อตอบโจทย์เชิงนโยบายการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ เช่น โรงเรียนวิทยาศาสตร ์โรงเรียนกีฬา โรงเรียนสอนภาษา/โรงเรียนที่ใช้ ภาษาอังกฤษเป็นสื่อการสอน โรงเรียนมาตรฐานสากล มหาวิทยาลัยที่เน้นการ วิจัย เป็นต้น
7.1 มิติด้านคุ้มครองผู้บริโภค
ผู้บริโภค ได้แก่ พ่อแม่ ผู้ปกครอง และผู้เรียน ใช้เป็นข้อมูลรายงานผลการประเมินของ สมศ. ประกอบการตัดสินใจเลือกสถานศึกษาจะเข้าเรียนตั้งแต่ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านการอาชีวศึกษาและระดับอุดมศึกษา
นางสาวน้ำทิพย์ ยอดช้าง 60204091 Sec.7