Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ …
บทที่ 3 การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ
Biophysical Assessment :red_flag:
Ultrasound :<3:
การใช้คลื่นเสียงที่มีความถี่สูง ผ่านผิวหนังเข้าไปเนื้อเยื่อที่ต้องการตรวจ ดูขนาด ขอบเขต รูปร่าง การเคลื่อนไหวของอวัยวะ
:pencil2:
แนวทางการตรวจ :pencil2:
ดูจำนวนและการมีชีวิตของทารก
ดูลักษณะและตำแหน่งของรก
ปริมาณน้ำคร่ำ
ประเมินอายุครรภ์และการเจริญเติบโตของทารก
ตรวจ 4- chamber view ของหัวใจทารก
ตรวจลักษณะทางกายวิภาคของทารก
ข้อบ่งชี้ Ultrasound :pencil2:
ด้านมารดา :no_entry:
ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์ในระยะเริ่มแรก
ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติ
ตรวจดูตำแหน่งที่รกเกาะ
ตรวจดูภาวะแฝดน้ำ / น้ำคร่ำน้อย
ด้านมารดา :no_entry:
ตรวจในรายสงสัยครรภ์ไข่ปลาอุก
ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์นอกมดลูก
การตั้งครรภ์ที่มีห่วงอนามัยอยู่ด้วย
เพื่อดูความผิดปกติ เช่น ก้อนเนื้องอกที่อุ้งเชิงกราน
ตรวจดูตำแหน่งที่เหมาะสมก่อนทำ amniocentesis
ด้านทารก :fire:
ดูการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ หรือคาดคะเนอายุครรภ์
ตรวจดูความผิดปกติของทารกในครรภ์
เพื่อวินิจฉัยภาวะทารกตายในครรภ์
เพื่อดู lie position และส่วนนำของทารกในครรภ์
เพื่อตรวจดูการหายใจของทารกในครรภ์ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
เพื่อตรวจดูจำนวนของทารกในครรภ์
การแปลผล Ultrasound
Gestational Sac : GS)
ขนาดของถุงการตั้งครรภ์
อายุครรภ์ 5 -7 week ถุงที่หุ้มทารกไว้ซึ่งจะเห็นได้ในระยะแรกของการตั้งครรภ์ ใช้ยืนยันการตั้งครรภ์ ใช้ในการหาอายุครรภ์ โดยวัดเส้นผ่าศูนย์กลางของถุงการตั้งครรภ์ ทั้ง 3 แนวคือ กว้าง ยาว สูง
(Crown-rump lerght : CRL)
ความยาวของทารก
(Crown-rump lerght : CRL)
อายุครรภ์ 7-14 week คือ ความยาวตั้งแต่ศีรษะถึงส่วนล่างสุดของกระดูกไขสันหลัง ซึ่งมีความแม่นยำมาก คลาดเคลื่อนเพียง 3 - 7 วัน
Biparietal diameter : BPD
ส้นผ่าศูนย์กลางของส่วนที่ยาวที่สุดของศีรษะของทารก
เป็นระดับ BPD ที่กว้างที่สุด การคำนวณจะแม่นยำสุด คือ ช่วง 14 - 26 สัปดาห์ คำนวณอายุครรภ์โดยประมาณ คือ BPD (ซม.) X 4 สัปดาห์
(Femur length : FL)
(Head cicumference : Hc)
(Abdominal circumference : Ac)
เส้นรอบท้อง
(Abdominal circumference : Ac)
วัดยาก ไม่ค่อยนิยม
Fetal Biophysical profile
(BPP)
:<3:
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ โดยใช้คลื่นเสียงความถี่สูงตรวจวัดการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่างๆของทารกที่ถูกกระตุ้นและควบคุมด้วยระบบประสาทส่วนกลาง (Biophysical activity)
:pencil2:
4 ตัวแปร :pencil2:
การหายใจ
การเคลื่อนไหว
แรงตึงตัวของกล้ามเนื้อ
การเต้นของหัวใจทารก
การวัดปริมาณน้ำคร่ำอีก 1 ตัวแปร
วิธีการตรวจ
:pencil2:
เตรียมหญิงตั้งครรภ์ในท่านอน Semi-fowler ตะแคงซ้ายเล็กน้อย
ใช้ Ultrasound ตรวจวัดข้อมูล 5 ตัวแปรที่ต้องการ
กำหนดค่าคะแนนของแต่ละข้อมูล ข้อละ 2 คะแนน
เมื่อพบว่าปกติให้ 2 คะแนน และให้ 0 คะแนนเมื่อพบว่าผิดปกติ
การแปลผล :pencil2:
คะแนน 8-10 คะแนน แสดงว่า ปกติ ไม่มีภาวะเสี่ยงควรตรวจซ้ำใน 1 สัปดาห์
คะแนน 6 คะแนน แสดงว่า มีภาวะเสี่ยงต่อการขาดภาวะออกซิเจนเรื้อรังของทารก ควรตรวจซ้ำใน 4-6 ชั่วโมง
คะแนน 4 คะแนน แสดงว่า มีภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
คะแนน 0-2 คะแนน แสดงว่า มีภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรังอย่างรุนแรง ควรให้มีการคลอดโดยเร็ว
วิธีนับลูกดิ้น
:<3:
Count to ten
การนับการดิ้นของทารกในครรภ์ให้ครบ 10 ครั้ง ในช่วงเวลา 2 ชั่วโมงต่อกัน
การประยุกต์วิธีการ
นับจำนวนเด็กดิ้นจนครบ 10 ครั้ง ในเวลา 4 ชั่วโมง
ให้คำแนะนำ
daily fetal movement record (DFMR)
การนับลูกดิ้น 3 เวลาหลังมื้ออาหาร ครั้งละ 1 ชั่วโมง
นับต่ออีก 6-12 ชั่วโมงต่อวัน
การที่ลูกดิ้นน้อยลง
ทารกอยู่ในภาวะอันตราย มีความเสี่ยงที่จะเสียชีวิต ดังนั้นถ้ามารดาพบว่า ทารกดิ้นน้อยลง หรือหยุดดิ้น ให้มาพบแพทย์ทันที และควรมีการบันทึกการดิ้นของทารกในแต่ละวัน
Biochemical Assessment :red_flag:
Amniocentesis
:<3:
การตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดโดยเจาะน้ำคร่ำ เพื่อตรวจโครโมโซมทารกในครรภ์ที่ผิดปกติ :pencil2:
ตั้งครรภ์อายุตั้งแต่ 35 ปี
โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
วิธีการ :pencil2:
ทำโดยวิธีการปราศจากเชื้อ เจาะโดยใช้เข็มขนาดเล็กเจาะผ่านหน้าท้อง และผนังมดลูกเข้าสู่ถุงน้ำคร่ำ มาส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ทำเมื่ออายุครรภ์ 16-18 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อน
:pencil2:
ปวดเกร็งเล็กน้อยบริเวณท้องน้อย
การติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
กลุ่มเลือด Rh negative
คำแนะนำหลังการเจาะ :pencil2:
ควรสังเกต และมาพบแพทย์หากมีอาการเหล่านี้
ปวดเกร็งหน้าท้องมาก
ไข้ภายใน 2 สัปดาห์
มีน้ำหรือเลือดออกทางช่องคลอด
พักหลังจากการเจาะ1 วัน
ควรงดการออกแรงมาก เช่น ยกของหนัก ออกกำลังกาย และงดการร่วมเพศ อีก 4-5 วัน ไม่ควรเดินทางไกลภายใน 7 วันหลังการเจาะน้ำคร่ำ
บทบาทของพยาบาล :pencil2:
ดูแลให้ปัสสาวะเพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
ดูแลจัดท่า วัดความดันโลหิต และฟังเสียงหัวใจของทารก
จัดเตรียมอุปกรณ์ให้สะอาดปราศจากเชื้อ
ภายหลังเจาะให้นอนหงาย กดแผลหลังจากเอาเข็มออก ประมาณ 1 นาที และปิดแผลด้วยพลาสเตอร์
ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 15 นาที จนครบ 1 ชั่วโมง
วัด Vital signs 2 ครั้ง ห่างกัน 15 นาที
Amniotic fluid analysis :<3:
ดูความสมบูรณ์ของปอด วิธีที่นิยมทำ 3 วิธี
1.จากการดูสีของน้ำคร่ำ :pencil2:
2.การตรวจหาค่า L/S ratio :pencil2:
เพื่อดู lung maturity เนื่องจากสาร lecithin เป็น Phospholipids ทำหน้าที่เป็น surfactant คลุมบริเวณ alveoli ส่วน sphingomyelin เป็นไขมันในน้ำคร่ำ
สัดส่วนของ L/S จะเท่าๆกัน จนกระทั่ง 30 สัปดาห์ หลังจากนั้น sphingomyelin จะเริ่มคงที่ ขณะที่ lecithin จะเพิ่มขึ้น
ค่าปกติของ L/S rotio
26 สัปดาห์ แรกของการตั้งครรภ์ ค่า S > L
อายุครรภ์ 26-34 สัปดาห์ ค่า L / S ratio = 1:1
อายุครรภ์ 34-36 สัปดาห์ ค่า L จะเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่ S จะมีปริมาณลดลงเล็กน้อย ทำให้ ratio สูงขึ้น เปลี่ยนเป็น 2:1
L / S ratio > 2 แสดงว่าปอดทารกสมบูรณ์เต็มที่ โอกาสเกิด RDS ต่ำ
3.Shake Test
:pencil2:
เป็นการทดสอบความสมบูรณ์ของปอดทารกในครรภ์ โดยใช้หลักการของความสามารถในการคงสภาพของฟองอากาศของสารลดแรงตึงผิวของปอด (Surfactant)
ช้หลอด 5 หลอด ใส่น้ำคร่ำจำนวน 1 cc , 0.75 cc , 0.5 cc , 0.25 cc และ 0.2 cc ตามลำดับแล้วเติม normal saline Solution ในหลอดที่ 2 , 3 , 4 และ 5 ทำให้ส่วนผสมเป็น 1 cc ทุกหลอดแล้วเติม Ethanol 95 % ทุกหลอดเขย่านาน 15 วินาที ทิ้งไว้นาน 15 นาที
ถ้าพบว่ามีฟองอากาศเกิดขึ้น 3 หลอดแรกแสดงว่าได้ผลบวก ปอดของทารกเจริญเต็มที่
ถ้าพบฟองอากาศ 2 หลอด แรก ได้ผล intermediate ปอดทารกยังไม่เจริญเต็มที่
ถ้าพบฟองอากาศเพียงหลอดเดียวหรือไม่พบเลย แสดงว่า ได้ผลลบ แสดงว่าการทดสอบปอดทารกยังเจริญไม่เต็มที่
*ถ้าได้ลบ ควรตรวจหาค่า L/S ratio ต่อไป เพราะอาจเป็นผลลบลวง false negative แต่ผลบวกลวงพบได้น้อย
3.Alpha fetoprotein (AFP) :<3:
AFP เป็นการตรวจเลือดมารดา :pencil2:
ค่าปกติ AFP 2.0 – 2.5 MOM ค่า AFP สูงขึ้นหลังจากสัปดาห์ที่ 15 ของการตั้งครรภ์ แสดงว่าทารกมีความผิดปกติของ open neural tube :pencil2:
Turner Syndrome
มีโครโมโซม X เพียงตัวเดียว
มีรูปร่างเตี้ย คอมีพังผืด และปลายแขนกางออก
รังไข่ที่ไม่เจริญ ไม่มีประจำเดือน
anencephaly (ภาวะกะโหลกศีรษะไม่ปิด)
Spinabifida
ความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง (spina bifida) ซึ่งมีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลังออกมา
โรคมัยอีโลเมนิ่งโกซีล (Myelomeningocele)
ความผิดปกติใน 2 - 3 สัปดาห์ ของการตั้งครรภ์
ไขสันหลังจึงเกิดได้ไม่สมบูรณ์และเป็นแผ่นแบนอยู่ที่ผิวของร่างกายล้อมรอบด้วยผิวหนัง
ค่า AFP ต่ำ สัมพันธ์กับ Down’ syndrome :pencil2:
Fetoscopy
:<3:
การส่องกล้องดูทารกในครรภ์ หรือเรียกว่า laparo amnioscope สอดเข้าไปในถุงน้ำคร่ำโดยผ่านผนังหน้าท้อง
ขั้นตอนการทำ
:pencil2:
งดน้ำงดอาหารก่อนทำ 6-8 ชั่วโมง
ตรวจสอบ FHS ก่อนและหลังทำ
ใช้ ultrasound เป็นตัวช่วยในการทำ
หลังทำงดการทำงานหนัก 1 – 2 สัปดาห์
ต้องตรวจสอบปริมาณน้ำคร่ำหลังทำ
ภาวะแทรกซ้อน แท้งบุตร 12 % เลือดออกทางช่องคลอด ติดเชื้อน้ำคร่ำรั่วอย่างรุนแรงเลือดแม่กับเลือดลูกปนกัน
6.Chorionic villous sampling
:<3:(CVS)
การดูดเอาตัวอย่างของรกเด็กมาตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซม : :pencil2:
ทำช่วง 10-13 wks. ไม่ควรทำ ก่อนอายุครรภ์ 10 สัปดาห์ เพราะเพิ่มอัตราการเกิดทารกพิการแบบ limb reduction defect :pencil2:
5.cordocentesis :<3:
การเจาะดูดเลือดจากหลอดเลือดสายสะดือ
ทำ ช่วงขณะอายุครรภ์ 18 สัปดาห์
Electronic Fetal monitoring
:red_flag:
เป็นเครื่องมือทาง Electronic ที่ได้นำมาใช้เพื่อตรวจดูสุขภาพทารกใน
:<3:
หัวตรวจ มี 2 แบบ :<3:
Tocodynamometer หรือ tocometer
เป็นส่วนที่วางอยู่บนหน้าท้องมารดาบริเวณยอดมดลูกเพื่อประเมินความรุนแรงของการหดรัดตัวของมดลูก
ultrasonic transducer
สำหรับฟังอัตราการเต้นของหัวใจทารกจะเป็นส่วนที่วางอยู่บนหน้าท้องบริเวณหัวใจทารก เพื่อประเมินการเต้นของหัวใจและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อมีการหดรัดตัวของมดลูก
การเต้นของหัวใจทารกและคำต่างๆที่เป็นสากล
:<3:
Baseline features
ปกติ 110 – 160 ครั้ง/นาที
Tachycardia > 160 ครั้ง/นาที
Bradycardia < 110 ครั้ง/นาที
Variability
:<3:
Absent : ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง
Minimal : มีการเปลี่ยนแปลง 0 ถึง 5 beat / min
Moderate : มีการเปลี่ยนแปลง 6 ถึง 25 beat/min
Marked : มีการเปลี่ยนแปลงมากกว่า 25 beat/min
อัตราการเต้นของหัวใจทารกที่มีการเปลี่ยนแปลง
Periodic change มี 2 แบบ
acceleration การเพิ่มขึ้นของ FHR
นานกว่า 10 นาที อายุครรภ์ > 32 สัปดาห์ มากกว่าหรือเท่ากับ 15 bpm
นานกว่า 15 วินาที
อายุครรภ์ < 32 สัปดาห์ เพิ่มขึ้น 10 bpm
deceleration
Early deceleration
การลดลงของ FHR สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก พบได้ตอนท้ายของการเจ็บครรภ์คลอด เชื่อว่าเป็น reflex เกิดจากการที่ศรีษะทารกถูกกด
Late deceleration
การลดลงของ FHR ไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูกการลดลง ถือเป็นความผิดปกติ เชื่อว่าเกิดจากทารก hypoxia
Variable deceleration
การลดลงของ FHR โดยอาจจะสัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูกหรือไม่ก็ได้ ไม่นานเกิน 2 นาที เกิดจากสายสะดือถูกกด พบใน prolapse cord หรือ น้ำคร่ำน้อย
Prolonged deceleration
การลดลงของ FHR นานอย่างน้อย 2 นาที แต่ไม่ถึง 10 นาที การแก้ไข : ตรวจสอบหาการพลัดต่ำของสายสะดือ
แนวทางการดูแลรักษา :<3:
จัดท่ามารดา โดยทั่วไปนิยมให้มารดานอนในท่าตะแคงซ้าย
แก้ไขเมื่อมีภาวะ uterine hyperstimulation หยุดการให้ยา oxytocin
ให้ออกซิเจนแก่มารดาผ่านทางหน้ากากในอัตรา 8-10 ลิตร/นาที
ทำการประเมินการเต้นของหัวใจทารกตลอดเวลา
ลักษณะผิดปกติอย่างต่อเนื่องอยู่ควรทำการคลอดทารกภายใน 30 นาที
หลักการดูแลทารกที่มีการเต้นของหัวใจผิดปกติ :<3:
เพิ่ม uterine blood flow โดยการจัดท่ามารดา ให้สารน้ำทางเส้นเลือด ช่วยลดความกังวลใจให้กับมารดา
เพิ่ม umbilical circulationโดยการจัดท่ามารดา การตรวจภายในดันส่วนนำของทารกเพื่อลดการกดสายสะดือถ้าเกิดภาวะสายสะดือย้อย
เพิ่ม oxygen saturation โดยการจัดท่ามารดา ให้ออกซิเจนแก่มารดา และสอนวิธีการหายใจที่ถูกต้องในระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
ลด uterine activity โดยปรับเปลี่ยนการให้ยาที่เหมาะสม จัดท่ามารดาให้สารน้ำทางเส้นเลือด และสอนวิธีการการเบ่งคลอดที่ถูกต้อง
Non-Stress Test (NST)
:<3:
ตั้งครรภ์เกินกำหนด( post term)
ทารกเติบโตช้าในครรภ์ (intra uterine growth retardation)
มารดาเป็นเบาหวาน
มารดามีประวัติความดันโลหิตสูง
มารดาเป็นโรคโลหิตจางหรือมีฮีโมโกลบินผิดปกติ
มารดามีอายุมากกว่า 35 ปี
ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลง
การแปลผล (NST)
:<3:
Reactive
มี acceleration
มี long term variability ที่ปกติ (6-25 bpm.)
ไม่มี deceleration ของการเต้นของหัวใจทารก
Uninterpretable
คุณภาพของการทดสอบไม่สามารถแปลผลได้ตามข้อกำหนด
การพยาบาลหลังการตรวจ
Non-Stress Test (NST)
:<3:
Contraction Stress test ; CST
การทดสอบดูการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นของหัวใจทารก ในครรภ์ขณะที่มดลูกหดรัดตัว
Uteroplacental insufficiency
ถ้ามีภาวะ Uteroplacental insufficiency ทารกอยู่ในภาวะไม่ปลอดภัย FHR pattern เกิด late deceleration ขึ้น