Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง( COPD) - Coggle Diagram
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง( COPD)
การตรวจร่างกาย
ในระยะแรกตรวจร่างกายจะไม่พบความผิดปกติคนทียังสูบบุหรี่อยู่อาจมีลักษณะที่บ่งว่ายัง สูบบุหรี่เช่น มี nicotine stain ที่นิ้วมือ มีกลิ่นบุหรี่ติดตัว
ระยะต่อมาการให้เครื่องฟังตรวจปอด มักได้ยินเสียงอึ๊ด (rhonchi) เสียงกรอบแกรบ (crepitation) เสียงวี้ด (wheezing) และ / หรือเสียงหายใจออกยาว (prolonged expiration)
ในรายที่มีการติดเชื้อแทรกซ้อนมักมีไข้ร่วมด้วยในระยะที่เป็นมากขึ้นอาจพบอาการหายใจเร็วหน้ายกมีอาการเคาะโป่รง (hyperresonant) และเมื่อใช้เครื่องฟังตรวจปอดจะพบเสียงหายใจค่อย (ฟังไม่ค่อยได้ยิน) เนื่องจากมีอากาศด้างอยู่ในถุงลางและลมหายใจเข้าออกได้น้อยถ้ามีอากาศค้างอยู่ในถุงลมมากก็จะพบหน้าอกมีลักษณะเป็นรูปถังทรงกระบอกเรียกว่าอกตั้งหรืออกโอ่ง (barrel chest) ในระยะที่เป็นรุนแรงจะพบอาการหายใจลำบากปากเขียวเล็บเขียวอาจพบภาวะหัวใจวาย
ตรวจพิเศษ
การตรวจ arterial blood gas ( ABG )แนะนํา ทําเฉพาะในกลุ่มที FEV1< 50% predicted หรือ ผู้ป่วยทีมีอาการหรืออาการแสดงของ respiratory failure หรือ right heart failure
การตรวจสมรรถภาพปอดหรือ spirometryถือเป็น gold standard ในการวินิจฉัยโรค จําแนกความรุนแรง และติดตามดู progressionของโรคได้
การตรวจcomputed tomography (CT) ของทรวงอก
ลักษณะอาการคล้ายคลึงกัน หรือวินิจฉัยภาวะแทรกซ้อนอื่นที่อาจเกิดขึ้นร่วมด้วยได้ เช่น
การตรวจที่สามารถทํา ได้ง่ายคือ ช่วยในการวินิจฉัยแยกโรคทีมี การทํา chest X-ray(CXR)
ภาวะหัวใจล้มเหลว
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากสารพิษในบุหรี่ที่สูบเข้าไปทำลายเยื่อบุหลอดลมและถุงลมในปอดซึ่งค่อย ๆ เกิดขึ้นและลุกลามรุนแรงขึ้นอย่างช้าๆและในที่สุดเกิดความพิการอย่างถาวรดังกล่าวข้างต้น (พบว่าประมาณร้อยละ 15-20 ของผู้ที่สูบบุหรี่จัดจะเกิดภาวะปอดอุดกั้นเรื้อรัง)
ส่วนน้อยอาจเกิดถากมลพิษในอากาศ (เช่นฝนสารเคมี) จากการประกอบอาชีพอย่างต่อเนื่องและอาจเสี่ยงมากขึ้นเมือมีการสูบบุหรี่ร่วมด้วย
เกิดจากการใช้พื้นหุงต้มหรือก่อไฟภายในบ้านที่ขายการถ่ายเทอากาศเป็นเหตุให้ผู้ป่วยสูดควันอยู่ประว่าตนเป็นพิษต่อทางเดินหายใจผู้ที่เป็นโรคภูมิแพ้โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคหิดมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะปอดอุดกั้นเรื้อรังมากกว่าคนปกติและการสูบบุหรี่ยิ่งทำให้แยงมากขึ้นนอกจากนี้ยังพบว่าอาจเกิดจากุภาวะพร่องสารต้านทริปชิน (alphia, nitryDin ซึ่งเป็นโปรตีนป้องกันไม่ให้ถุงลมปอดถูกสารพิษทำลาย) ภาวะนี้พบได้น้อยสามารถถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์และมักเกิดอาการในกลุ่มผู้ป่วยที่มีอายุต่ำกว่า 40-50 ปี
อาการ
ลักษณะเด่นของ COPD คือการมีการอุดกั้นของหลอดลม-ระยะที่เริ่มเป็นหลอดลมอักเสบเรื้อรัง (อาจเริ่มในช่วงอายุ 30-40 ปี) จะมีอาการไอมีเสมหะเรื้อรังทุกวันเป็นแรมเดือนแรมปีผู้ป่วยมักจะไอหรือขากเสมหะในคอหลังจากตื่นนอนตอนเช้าเป็นประจำจนนึกว่าเป็นเรื่องปกติและไม่ได้ใส่ใจดูแลรักษาต่อมาจะไอถี่ขึ้นตลอดทั้งวันและมีเสมหะจำนวนมากในช่วงแรกมีลักษณะเป็นสีขาวต่อมาอาจเป็นสีเหลืองหรือเขียวมีไข้ขึ้นหรือหอบเหนื่อยเป็นครั้งคราวจากโรคติดเชื้อแทรกซ้อน
ในระยะหลังผู้ป่วยมักมีอาการกำเริบหนักเป็นครั้งคราวเมื่อมีการติดเชื้อแทรกซ้อนทำให้มีไข้และไอมีเสมหะสีเหลืองหรีอเขียวหายใจหอบตัวเขียวจนต้องเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล
เมื่อเป็นถึงขึ้นระยะรุนแรงผู้ป่วยมักมีอาการเบื่ออาหารและน้ำหนักลดรูปร่างผ่ายผอมและมีอาการเหนื่อยหอบอยู่ตลอดเวลามีอาการทุกข์ทรมานและรู้สึกท้อแท้
อาการของเคสกรณีศึกษา
นำ้หนักตัวลด
เบื่ออาหาร
รูปร่างผอมลง