Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ - Coggle Diagram
บทที่ 5 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ
วัณโรค (Tuberculosis: TB)
ระยะฟักตัว
2-10 สัปดาห์
อาการ
TT (PPD test) : positive (2-10 สัปดาห์)
1-6 เดือนต่อมา ต่อมน้้าเหลืองโต ปอด อวัยวะอื่นๆ
ระยะแรกไม่แสดงอาการ
มาด้วยการเจ็บป่วยตามอวัยวะที่เป็นโรค ไข้ อ่อนเพลีย น้้าหนักลด เบื่ออาหาร เหงื่อออกกลางคืน ปอดอักเสบ เป็นต้น
การติดต่อ
ไอ หายใจรดกัน
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis
การวินิจฉัย
ประวัติสัมผัสโรค
ภาพถ่ายรังสีปอด
การทดสอบทูเบอร์คูลิน ได้ผลบวก
การย้อมสีทนกรด
o การวิจฉัยชิ้นเนื้อจากต่อมน้้าเหลือง เยื่อหุ้มปอด
การตรวจ CT scan, MRI
การท้า TT (PPD test) ในผู้ป่วยที่ติดเชื้อวัณโรคแต่ไม่มีอาการ
เป็นโรคติดต่อเรื้อรัง ท้าให้มีการอักเสบในปอด
การรักษา
เด็กอายุน้อยกว่า 4 ปี TT ผลบวก ให้ INH นาน 2-4 เดือน
เด็กอายุน้อยกว่า 4 ปี วัณโรค
แยกผู้ป่วย 1-2 เดือนจนเสมหะไม่พบเชื้อ
อาหารโปรตีนสูง วิตามินสูง
พักผ่อนให้เพียงพอ
วัคซีน BCG
Combine drug อย่างน้อย 3 อย่าง (pyrazinamide, streptomycin, rifampin, isoniacid, ethabutal) กินยาต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือน
ไข้เลือดออกเดงกี (Dengue hemorrhagic fever: DHF)
การพยาบาล
การให้ผงเกลือแร่ ORS น้อยๆบ่อยๆ
การท้าความสะอาดร่างกาย
การเช็ดตัวลดไข้
การบันทึกสัญญาณชีพทุก 15-30 นาที
การบันทึกสัญญาณชีพทุก 15-30 นาที
การดูผลเกร็ดเลือด ถ้า Hct สูง เกร็ดเลือดต่่า เป็นสัญญาณอันตราย
การให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า สังเกตภาวะหอบ หายใจล้าบาก การสังเกต ปัสสาวะ
การวินิจฉัย
ตรวจทูนิเกท์เทสต์ให้ผลบวก (Positive tourniquet test)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตับอักเสบ เอนไซม์ตับเพิ่มมากขึ้น
การตรวจ occult blood
การเจาะหาภูมิคุ้มกันต่อเชอื้ไวรัสไข้เลือดออก พบภายใน 5 วันแรก ของโรคเท่านั้น
การเจาะเลือด: Hct / WBC สูง
การรักษา
ระยะช็อก มุ่งแก้อาการช็อกและอาการเลือดออก ให้สารน้้า ไม่ควรให้นานเกิน 24-48 ชั่วโมง จนสัญญาณชีพดีขึ้น
ระยะพักฟื้น เป็นช่วงสารน้้ากลับเข้าสู่หลอดเลือด จ้าเป็นต้องหยุดหรือลดให้ สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
1.ระยะไข้สูง ให้ยาลดไข้ ห้ามให้แอสไพริน มีฤทธิ์ต้านการรวมตัวของเกร็ดเลือด ถ้าอาเจียนอาจให้ยาระงับการอาเจียนและให้ผงเกลือแร่ ORS น้อยๆบ่อยๆ
ความรุนแรงของไข้เลือดออกเดงกี่
Grade I: ตรวจทูนิเกท์เทสต์ให้ผลบวก (Positive tourniquet test)
Grade II: มีเลือดออก เช่น จุดจ้้าเลือดออกตามตัว, มีเลือดก้าเดา, อาเจียน ถ่ายอุจจาระสีด้า, Hct เพิ่มมากกว่าร้อยละ 20, BP ยังปกติ
Grade III: ผู้ป่วยช็อก, มีชีพจรเบาเร็ว, pulse pressure แคบ, BP ต่้า, ตัวเย็น, เหงื่อออก, กระสับกระส่าย
Grade IV: ช็อกรุนแรง, วัด BP หรือ Pulse ไม่ได้
อาการ
มีเกร็ดเลือดน้อยกว่า 100,000
มีอาการเลือดออก อย่างน้อย Positive tourniquet test ร่วมกับอาการ เลือดออกอื่นๆ
มีอาการไข้อย่างเฉียบพลันและสูงลอย 2-7 วัน และร่วมกับมีอาการอย่าง น้อย 2 ข้อ คือ ปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ/ปวด กระดูก ผื่น เลือดออก(จุดจ้้าเลือด เลือดก้าเดา)
Hct.เพิ่มขึ้นเท่ากับหรือมากกว่า 20% เทียบกับ Hct.เดิม หรือมีหลักฐาน การรั่วของพลาสมา เช่น มีระดับโปรตีน/อัลบูมินในเลือดต่้า
การดำเนินโรค แบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะวิกฤตหรือช็อก (Critical stage)
ระยะฟื้นตัว (Convalescent stage)
ระยะไข้สูง (Febrile stage): ส่วนใหญ่ไข้สูงลอย T>38.5 ºC (27 วัน)
เอดส์ในเด็ก (AIDS)
การติดต่อ
การได้รับเชื้อ ได้รับเลือด
การมีเพศสัมพันธ์
จากแม่สู่ลูก
อาการ
เอดส์ในเด็กมีอาการของ Major sign อย่างน้อย 2 ข้อ และ Minor sign อย่างน้อย 2 ข้อ
Major sign
ท้องร่วงเรื้อรัง มากกว่า 1 เดือน
มีการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจบ่อยๆ
Minor sign
ต่อมน้้าเหลืองทั่วไปโต
แม่เป็นเอดส์
ระยะฟักตัว
ประมาณ 2-3 เดือน แสดงอาการภายใน 5 ปี
การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ
HIV antibody test ตรวจพบเชื้อ HIV หลังติดเชื้อ 2 สัปดาห์ – 6 เดือน
Viral Culture
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัส HIV
การป้องกัน รักษา
เลือกท้าการผ่าตัดอกทางหน้าทอ้งก่อนเจ็บครรภ์คลอดและน้้าเดิน
งดให้นมแม่ ให้นมผสมแทน
ให้ยาต้านไวรัส คือ AZT โดยให้หญิงตั้งครรภ์รับประทานทุก 12 ชม. เมื่ออายุครรภ์ ครบ 32-34 สัปดาห์ และเพิ่มเป็นทุก 3 ชม. เมื่อเจ็บครรภ์จนกระทั่งคลอด
การดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี โรคมือเท้าปาก
ให้ BCG และ IPV แทน OPV
ไม่ให้ทั้งสองชนิด (ACIP)
โรคเอดส์ คือ โรคที่เกิดภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือเสื่อมไป เพราะถูก ท้าลายโดยเชื้อไวรัสที่เรียกว่า HIV
โรคมือเท้าปาก (Hand Foot Mouth Disease)
รอยโรคที่ปาก
รอยโรคระยะเริ่มต้น ลักษณะเป็นรอยแดง อาจนูนเล็กน้อย ขนาด 2-8 mm. เปลี่ยนเป็นตุ่มน้้าสีเทาขนาดเล็กขอบแดง
ช่วงที่รอยโรคเป็นตุ่มน้้าจะสั้น จึงมักตรวจไม่พบในระยะนี้
ในผู้ป่วยทั้งหมด มีรอยโรคจ้านวน 5-10 แห่ง พบได้ทุกบริเวณในปาก พบบ่อย คือ เพดานปาก ลิ้น และเยื่อบุกระพุ้งแก้ม
รอยโรคที่ผิวหนัง
พบที่มือบ่อยกว่าเท้า ลักษณะเป็นรอยแดงๆ อาจนูนเล็กน้อยขนาด 2-10 mm. ตรงกลางสีเทา
บางรอยโรคมีลักษณะเป็นตุ่มน้้าใสขอบแดง มีกระจายขนานไปกับแนวของผิวหนัง อาจเจ็บหรือไม่ก็ได้
อาจเกิดขึ้นพร้อมหรือหลงัรอยโรคทปี่าก จ้านวนตั้งแต่ 2-3 แห่งไปจนถึง 100 แห่ง
อาการและอาการแสดง
ผื่นเริ่มจากจุดนูนแดงเล็กๆ เจ็บ ต่อมาเป็นตุ่มขนาด 3-7 mm. ไม่เจ็บแห้งใน 1 สัปดาห์
มีแผลหรือผื่นในช่องปาก: ลิ้น เยื่อบุช่องปาก เหงือก เพดาน ริมฝีปาก เป็นตุ่ม ใสขนาด 1-3 mm. แล้วแตกเป็นแผล
เริ่มจากการมีไข้ต่ำๆ เจ็บคอ มีผื่น
การวินิจฉัย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจ throat swab
ดูจากอาการและอาการแสดง ตรวจร่างกายพบรอยโรคบริเวณมือ เท้า ปาก ร่วมกับไข้
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
ตรวจน้้าไขสันหลัง
ระยะฟักตัว
2-6 วัน
การติดต่อ
อุจจาระของผู้ป่วยซึ่งมีเชื้อไวรัสอยู่ ช่วงที่แพร่กระจายมากที่สุด คือ สัปดาห์ แรกที่ผู้ป่วยมีอาการ จนกว่ารอยโรคจะหายไป
เชื้อแอนเทอโรไวรัสสามารถทนสภาวะกรดในทางเดินอาหารมนุษย์ได้และมี ชีวิตอยู่ในอุณหภูมิได้ 2-3 วัน
การสัมผัสโดยตรงตรงกับสารคัดหลั่งจากจมูก, ล้าคอ และน้้าจากในตุ่มใส
ไม่สามารถติดต่อจากคนสู่สัตว์ หรือจากสัตว์สู่คน
การติดต่อ
ทาง fecal-oral
ทางการหายใจ
การรักษา
รักษาแบบประคับประคองและบรรเทาอาการ หากไม่มีภาวะแทรกซ้อน เป็น โรคที่สามารถหายเองได้เอง โดยใช้ระยะเวลาประมาณ 7 วัน ลดอาการ เจ็บปวด จากแผลในปาก โดยป้ายยาชาบริเวณที่เป็นแผลก่อนรับประทาน อาหาร
ในกรณีที่มีภาวะแทรกซ้อนให้รักษาตามอาการ
สาเหต
เกิดจากเชื้อไวรัส Enterovirus
การป้องกัน
แยกผู้ป่วยที่เป็นโรคออกจากกลุ่มเพื่อนในโรงเรียน สถานเลี้ยงเด็ก โดยเน้น contact isolation เป็นหลัก มีรายละเอียด ดังนี้
ผู้ดูแลล้างมือบ่อยๆ โดยเฉพาะหลังเปลี่ยนผ้าอ้อม หรือ สัมผัสกับน้้าลาย/น้้ามูกเด็ก
ท้าความสะอาดพื้นห้องน้้า สุขา เครื่องใช้ ของเล่น สนามเด็กเล่น ตลอดจนเสื้อผ้าที่ อาจปนเปื้อนเชื้อด้วยน้้ายาฆ่าเชื้อที่ใช้ทั่วไปในบ้าน
แยกเด็กไม่ให้ร่วมกิจกรรมกับเด็กอื่น เช่น ว่ายน้้า ไปโรงเรียน ใช้สนามเด็กเล่น เป็น เวลา 1 สัปดาห์
เชื้ออยู่ในอุจจาระได้นาน 6-12 สัปดาห์
การติดเชื้อที่ผิวหนัง
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อแบคทีเรีย
อาการ
มักพบเกิดเป็นรอยโรคที่ผิวหนังบริเวณใบหน้าหรือบริเวณแขน-ขา ที่ มีแผลอยู่ก่อนแล้ว โดยเริ่มด้วยมีตุ่มน้้าหรือตุ่มหนองเล็กๆที่มีผนังบางๆซึ่งจะ แตกออกง่ายจึงท้าให้บริเวณแผลแฉะไปด้วยน้้าเหลืองและน้้าหนอง
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย จากการตรวจดูรอยโรคเป็นส้าคัญ โดยอาจส่งเพาะเชื้อจาก แผลเพื่อยืนยันชนิดของเชื้อโรคและเพื่อดูประสิทธิภาพของยาปฏิชีวนะต่อเชื้อ ที่ก่อโรคพุพอง
การตัดชิ้นเนื้อจากรอยโรคเพื่อการตรวจทางพยาธิวิทยา
การสอบถามประวัติอาการ ประวัติการเกิดแผล ประวัติการสัมผัสโรค
สาเหตุ
จากผิวหนังติดเชื้อแบคทีเรียชนิด Streptococcus pyogenes และ ชนิด Staphylococcus aureus ซึ่งเป็นเชื้อที่อาจพบได้บริเวณผิวหนังและ ทางเดินหายใจ
การรักษา
การดูแลแผล โดยการท้าแผลด้วยน้้าเกลือท้าแผล
การก้าจัดเชื้อโรค คือ การทานยาปฏิชีวนะ
โรคแผลพุพอง (Impetigo)
เป็นโรคติดเชื้อที่ผิวหนังในบริเวณที่เป็นชั้น ตื้นๆของหนังก้าพร้า พบบ่อยในวัยเด็ก และมีการติดต่อง่าย มักพบบริเวณ ใบหน้า แขน ขา
การป้องกัน
รักษาสุขอนามัยพื้นฐาน ไม่คลุกคลีกับผู้ป่วยโรคพุพอง ไม่ใช้เครื่องใช้ร่วมกัน
เมื่อมีแผลเกิดขึ้นควรรักษาความสะอาดแผลเสมอ
ตัดเล็บให้สั้น ไม่แกะ เกา บีบ แผล
ล้างมือให้สะอาดบ่อยๆและทุกครั้งที่สัมผัสแผล
โรคเซลล์เนื้อเยื่ออักเสบ (Cellulitis)
อาการ
บริเวณผิวที่อักเสบเป็นสีแดงมีขนาดใหญ่ขึ้น
รู้สึกปวดบริเวณที่ติดเชื้อ
มีผื่นที่ผิวหนังในทันทีทันใดและกระจายไปยังส่วนต่างๆอย่างรวดเร็วภายใน 24 ชั่วโมง
เจ็บปวด
การรักษา
เซลล์เนื้อเยื่ออักเสบสามารถรักษาให้หายได้โดยทานยาปฏิชีวนะเป็น เวลา 10-14 วัน อาการจะเริ่มดีขึ้นประมาณ 3 วันให้หลัง แต่ถึงอย่าง นั้นคุณก็ควรทานยาให้หมด
สาเหตุ
จากเชื้อแบคทีเรีย staphylococcus หรือ streptococcus และไม่ เป็นโรคติดต่อ
มีโรคทางผิวหนังเรื้อรัง (เช่น กลาก)
มีรอยบาดแผล รอยขีดข่วน หรือแมลงกัดต่อย
เป็นโรคอ้วนหรือมีน้้าหนักเกิน
โรคไฟลามทุ่ง (Erysipelas)
อาการ
ผิวหนังที่เกิดรอยโรคจะมีลักษณะเป็นผื่นใหญ่แดงสด ปวด บวม และ ร้อน ถ้าใช้หลังมือคล้าดูจะออกร้อนกว่าผิวหนังปกติ ต่อมาผื่นจะลุกลาม ขยายตัวออกไปโดยรอบอย่างรวดเร็วคล้ายไฟลามทุ่ง ผิวหนังในบริเวณนั้นจะ นูนเป็นขอบแยกจากผิวหนังปกติอย่างชัดเจน
การรักษา
ในผู้ป่วยที่มีอาการไม่รุนแรง สามารถรักษาโดยการกินยาปฏิชีวนะเพื่อฆ่าเชื้อ แบคทีเรียและรักษา
ผู้ป่วยพักผ่อนให้มาก ๆ พยายามอย่าเคลื่อนไหวส่วนที่อักเสบ เดินให้น้อยลง ควรยกแขนหรือขาส่วนที่อักเสบให้สูงขึ้นกว่าระดับหัวใจเพื่อลดอาการปวด บวม
ในรายที่อาการยังไม่ดีขึ้นภายใน 3-5 วัน หรือมีอาการรุนแรง ผื่นยังลามหรือ ยังคงมีไข้ อผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันต้านทานโรคต่้า หรือสงสัยว่ามีภาวะโลหิตเป็นพิษแทรกซ้อน ควรรีบไปพบแพทย์ก่อนนัดเพื่อ ประเมินอาการ
ฉีดยาปฏิชีวนะอย่างยา เพนิซิลลินวี (Penicillin V) ในขนาด 1-2 ล้านยูนิต เข้าทางหลอดเลือดด้าทุก ๆ 4-6 ชั่วโมง จนกว่าอาการจะทุเลาแล้วจึงค่อยเปลี่ยนไปใช้ยาปฏิชีวนะแบบ กิน
ผู้ป่วยควรปฏิบัติตัวตามค้าแนะน้าของแพทย์
สาเหตุ
มาจากการติดเชื้อแบคทีเรียว่า “เบตาเฮโมโลติกสเตรปโตคอคคัส กลุ่มเอ” (group A beta-hemolytic streptococcus – GABHS) หรือที่มี อีกชื่อเรียกหนึ่งว่า “สเตรปโตคอคคัส ไพโอจีนัส”
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อไวรัส
หูด (Warts)
ระยะฟักตัว
เมื่อเชื้อไวรัสแทรกซึมเข้าไปในเซลล์ผิวหนังก็จะเกิดการแบ่ง ตัวอย่างรวดเร็ว ซึ่งตั้งแต่รับ เชื้อมาจนเกิดอาการมักจะใช้เวลาประมาณ 2-8 เดือน
อาการ
หดูที่พบได้บ่อยที่สุด มีลักษณะนูนเป็นตุ่มกลมแข็ง ผิวหยาบ ขรุขระ ออกเป็นสีเทา ๆ เหลือง ๆ หรือสีน้้าตาล
การติดต่อ
่สามารถติดต่อได้จากการสัมผัสถูกคนที่เป็น หูดโดยตรง แต่ผิวหนังที่มีบาดแผลหรือรอยถลอกจะติดเชื้อได้ง่ายกว่าผิวหนังที่ ปกติ
การวินิจฉัย
ดูอาการของผู้ป่วย การตรวจลักษณะของก้อนเนื้อ และอาจต้อง ตัดชิ้นเนื้อเพื่อส่งตรวจทางพยาธิวิทยา
สาเหตุ
หูดเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี หรือ “ฮิวแมน แปปิโลมา ไวรัส” (Human Papilloma Virus – HPV)
การรักษา
3.การผ่าตัด ใช้สารเคมี
2.การใช้แสงเลเซอร์ การรักษาด้วยระบบอิมมูน
1.ด้วยยาใช้ภายนอก การรักษาด้วยความเย็น
หูดข้าวสุก (Molluscum contagiosum)
การวินิจฉัย
จากการตรวจรอยโรคที่ผิวหนังด้วยตาเปล่า
อาการ
เป็นตุ่มขึ้นตามผิวหนัง มักพบขึ้นตามล้าตัว แขนขา รักแร้ ข้อพับแขน ขาหนีบ บริเวณอวัยวะเพศ (โดยเฉพาะในผู้ใหญ่) และอาจพบได้ที่บริเวณใบหน้าและ รอบดวงตา
มีลักษณะเป็นสีเหลืองหรือเป็นสีของผิวหนัง (สีเนื้อ) รูปโดม และมี ลักษณะเฉพาะคือ ผิวหูดจะเรียบเป็นมันคล้ายไข่มุก
การรักษา
มักจะหายไปได้เองภายใน 6-9 เดือน มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่อาศัยเวลานาน ถึง 2-3 ปีหูดข้าวสุกจึงจะหาย โดยไม่ท้าให้เกิดแผลเป็น
ผู้ป่วยห้ามแกะหรือเกาที่บริเวณรอยโรค เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ควรแจ้งให้คู่นอนทราบ และไปพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยและรักษาไปพร้อม กัน
เมื่อสัมผัสรอยโรค ควรล้างมือด้วยสบู่ล้างมือให้สะอาด
การติดต่อ
สามารถติดต่อได้โดยตรงจากการสัมผัสผิวหนังตรงรอยโรค
สามารถติดต่อได้โดยตรงจากการสัมผัสผิวหนังตรงรอยโรค
จากการมีเพศสัมพันธ์กับผู้ป่วย
การใช้สิ่งของร่วมกับผู้ป่วย
ระยะฟักตัว
ตั้งแต่รับเชื้อมาจนเกิดอาการมักจะใช้เวลาประมาณ 2-7 สัปดาห์
สาเหตุ
เป็นไวรัสที่มีชื่อวา่ “เอ็มซีวี”
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อรา
โรค Candidiasis
การรักษา
การใช้ยาต้านเชื้อราชนิดต่างๆตามความรุนแรงของอาการและตามดุลพินิจ ของแพทย์
การรักษาประคับประคองตามอาการ เช่น การให้สารน้้ากรณีมีภาวะขาดน้้า จากเจ็บคอจนดื่มน้้าได้น้อย การใช้ยาแก้ปวด/เจ็บกรณีเจ็บที่รอยโรคมาก เป็น ต้น
โรคติดเชื้อแคนดิดา (Candidiasis)
การป้องกัน
ปฏิบัติตาม แพทย์ พยาบาล แนะน้า รักษาสุขอนามัยพื้นฐาน
ใช้ยาต่างๆตามแพทย์สั่งให้ครบถ้วน ไม่ขาดยา ไม่หยุดยาเองถึงแม้อาการจะดี ขึ้นแล้ว
รักษาควบคุมโรคต่างๆที่เป็นสาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยงให้ได้ดี
อาการ: candidiasis ของผิวหนังเป็นผื่น ผื่นมักจะท้าให้เกิดอาการแดงและมี อาการคันที่รุนแรง ในบางกรณีการติดเชื้ออาจท้าให้ผิวหนังแตกและเจ็บได้ แผลและ pustules อาจเกิดขึ้น
โรค Candidiasis
สาเหตุ: เชื้อ candida albicans
ต้าแหน่ง: ช่องปาก ผิวหนัง
เป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากการติดเชื้อราในกลุ่ม genus candida พบบ่อยมาก ในเด็ก ซึ่งเป็นเชื้อประจ้าถิ่น
โรคเกลื้อน (tinea vesicolor)
เป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรากลุ่มยีสต์
สาเหตุ: เชื้อ dimorphic yeast malassezia furfur
ผิวราบขนาดเล็ก สีต่างๆ มีขุยบางๆ มักพบบริเวณคอ หน้าอก หลัง และต้นแขน
การรักษา: ท้าความสะอาดผิวหนัง ยาทาต้านเชื้อรา รับประทานยา
โรคกลาก (Dermatophytosis)
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก
โรคกลากที่ล้าตัว (tinea corporis)
โรคกลากที่ใบหน้า (tinea faciei)
โรคกลากที่ศีรษะ (tinea capitis)
โรคกลากที่ขาหนีบ (tinea cruris)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ขูดขุยหรือสะเก็ดจากผื่น
การเพาะเลี้ยงเชื้อ ท้าเฉพาะในรายที่มีปัญหาทางการวินิจฉัย และการรักษา
โรคผิวหนังจากเชื้อปรสิต
โรคหิด (scabies) พบ บ่อยในเด็ก
สาเหตุ: เกิดจากตัวหิด
ลักษณะ: ผื่นนูนแดง ขนาดเล็ก หรือตุ่มน้้าใส ขนาดเล็ก
การวินิจฉัย: ตรวจ KOH
เหาศีรษะ (Head louse
ลักษณะ: คันศีรษะ เกาจนถลอก
การวินิจฉัย: ตรวจหาไข่เหา
สาเหตุ: เกิดจากตัวเหา
การรักษา: การตัดผมสั้น ท้าความสะอาด เครื่องนอน สระผมด้วยแชมพูยา ใช้เม็ด น้อยหน่าต้าหมักผม หวีเอาไข่เหาออก การ ให้ยาปฏิชีวนะ
โรคผิวหนังอักเสบ
สาเหตุ: มักพบในเด็กอายุ 2-3 เดือน และ 2-3 ปี ภูมิแพ้ พันธุกรรม การติด เชื้อ
โรคผิวหนังอักเสบ: เป็นการอักเสบของผิวหนัง คัน อาจเกิดจาสาเหตุภายใน หรือภายนอกเป็นตัวกระตุ้น แบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะกึ่งเฉียบพลัน
ระยะเรื้อรัง
ระยะเฉียบพลัน
การรักษา
ระยะเฉียบพลัน: ใช้ล้างแผลแบบเปียกด้วยน้้าเกลือและด่างทับทิม
ระยะกึ่งเฉียบพลัน: ทา corticosteroid cream
ระยะเรื้อรัง: ใช้ keratolytic agent ร่วมกับ corticosteroid cream หรือ ointment ทาเพื่อให้ผิวหนังบางลง
โรคติดเชื้อของวัคซีน
โรคบาดทะยัก (Tetanus)
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่มีทั่วไปตาม ธรรมชาติ เช่นตามพื้นดิน และมูลสัตว์ แบคทีเรียสร้างพิษ และมีผลท้าให้ กล้ามเนื้อรัดและแข็งตัว หากไม่ได้รับการรักษา อาจเสียชีวิตได้
โรคไอกรน (Pertussis)
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่สร้างสารพิษ แบคทีเรียนั้นติดต่อโดยง่ายดายระหว่างคนต่อคนโดยละอองไอ อาการ เริ่มต้นคือมีหวัดเล็กน้อย จากนั้นจะไอมากขึ้น มีเสมหะ และอาการไอ อย่างหนัก โดยเฉพาะช่วงเวลากลางคืนนยากต่อการรักษาและ ใช้เวลานาน และอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตของเด็กอ่อนได้ เด็กจะมี อาการไอพร้อมเสียงหืด ยาแก้อักเสบให้ผลน้อยมาก
โรคโปลิโอ (Polio)
หรือโรคแขนขาลีบ เกิดจากเชื้อไวรัส สามารถแพร่เชื้อสู่คนได้โดย สิ่งปฏิกูล อาหาร และน้้า อาจรวม ไปถึงละอองไอด้วย อาการของโรค อาจมีเพียงเล็กน้อย หรือ อาจร้ายแรงเนื่องจากอาการอัมพาตจนอาจถึงชีวิตได้ ไม่มียา ประเภทใดที่รักษาโรคนี้ได้
โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดบี (Haemophilus Influenzae B)
เป็นเชื้อแบคทีเรียที่สามารถก่อให้เกิดโรคร้ายแรงได้ เช่น โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ โรคหลอดลมอักเสบ โรคปอดบวม ติด เชื้อในกระแสเลือด และโรคไขข้ออักเสบ วัคซีนป้องกันเชื้อ แบคทีเรียนี้ได้ประสิทธิภาพที่ดี