Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพโรคเขตร้อน โรคติดต่อ และโรคอุบัติใหม่, image…
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพโรคเขตร้อน โรคติดต่อ และโรคอุบัติใหม่
ระยะของการติดเชื้อ
Entry of Pathogen ระยะรับเชื้อ
Colonization ระยะแบ่งตัวของเชื้อ
Incubation Period ระยะฟักตัว
Prodomal Symptoms ระยะที่มีอาการนำ
Invasive Period ระยะลุกลาม
Decline of Infection ระยะการอักเสบลดลง
Convalecsence ระยะพักฟื้น
Transmission
Contract Transmission การสัมผัส
Direct contact สัมผัสกับเชื้อของผู้ป่วยโดยตรง
Indirect contact สัมผัสทางอ้อม
Droplet Transmission การกระจายโดยฝอยละอองขนาดมากกว่า 5 ไมครอน เช่น SARS
Airborne Transmission การกระจายโดยฝอยละอองขนาดน้อยกว่า 5 ไมครอน เช่น วัณโรค
Vector borne Transmission แมลงเป็นพาหะ
แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
ระยะหนาวสั่น (Cold stage) ผู้ป่วยมีอุณหภูมิร่างกายลดลง มีอาการหนาวสั่น เป็นเวลา 30-60 นาที ระยะนี้ตรงกับช่วงการแตกของเม็ดเลือดแดงที่มีเชื้อมาลาเรีย
ระยะไข้ตัวร้อน (hot stage) ผู้ป่วยจะมีไข้สูง 40-41 องศาเซียลเซียส หน้าแดง คลื่นไส้อาเจียน ระยะนี้ใช้เวลา 1-4 ชั่วโมง
ระยะเหงื่ออก ( Sweating stage) ผู้ป่วยจะมีเหงื่อออกจนชุ่มที่นอน ประมาณ 1-2 ชั่วโมง
ภาวะไข้กลับ (Relapse)
เกิดจากได้รับเชื้อในระยะ สปอโรซอยท์ เกิดได้ 2 แบบ ดังนี้
1.ไข้กลับที่เกิดจากเชื้อที่ยังคงอยู่ในตับ (true relapse หรือ recurrence) เกิดจากการเจริญเติบโตเข้าสู่ระยะก่อนเข้าสู่เม็ดเลือดแดงของฮิปโนซอยท์ที่อยู่ในตับ พบในโรคมาลาเรียจาก P. vivax และ P. ovale
2.ไข้กลับที่เกิดจากเชื้อมาลาเรียถูกทำลายไม่หมด (recrudescence) พบใน P. falciparum และ P. malariae
ไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัส เดงกี่ ( Dengue Virus ) ซึ่งเป็น RNA ไวรัส โดยมียุงลาย Aedes aegyti ตัวเมีย บินไปกัดคนที่ป่วยเป็นไข้เลือดออก
เกิดจากไวรัสเดงกีซึ่งมีอยู่ 4 สายพันธุ์ DEN1 DEN2 DEN3 DEN4
อาการสำคัญแบ่งออกได้ 3 ระยะ
ระยะไข้
ไข้สูง
เบื่ออาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
มักมีหน้าแดง
อาจมีผื่นหรือจุดเลือดออกตามลำตัว แขน ขา
2-7 วัน
ระยะช็อค
ซึม
เหงื่อออก มือเท้าเย็น ชีพจรเต้นเบาแต่เร็ว
ปวดท้อง โดยเฉพาะบริเวณใต้ชายโครงขวา
ปัสสาวะออกน้อย อาจมีเลือดออกง่าย
24-48 ชั่วโมง
ระยะพักฟื้น
รู้สึกอยากรับประทานอาหาร
ความดันโลหิตสูงขึ้น
ชีพจรเต้นแรงขึ้นและช้าลง
ปัสสาวะมากขึ้น
ผื่นแดงและมีจุดเลือดออกเล็กๆ ตามลำตัว
อาการติดเชื้อไวรัสแดงกี่มีอาการได้ 3 แบบคือ
การติดเชื้อไข้แดงกี่ Dengue Fever
ไข้เหมือนการติดเชื้อไวรัสทั่วไป มักจะพบในทารกหรือเด็กเล็ก
จะปรากฏอาการเพียง 2-3 วัน บางครั้งอาจจะเกิดผื่นแบบเชื้อไวรัสธรรมดา
2.ไข้เลือดออก [Dengue hemorrhagic fever-DHF]
อาการไข้เลือดออกชนิดนี้จะมีลักษณะเหมือนไข้แดงกิ่ว(ไข้เลือดออกชนิดเบา)ตรงที่มีไข้เฉียบพลัน ปวดศีรษะ ปวดตามตัว หน้าแดง คลื่นไส้อาเจียน
การวินิจฉัย
มีไข้าสูง
มีเลือดออกง่าย
เจ็บชายโครงขวาเนื่องจากตับโต
เกล็ดเลือดต่ำ
เลือดข้นขึ้น
ช็อค
3.ไข้เลือดออกแดงกี่ที่ช็อค (Dengue Shock Syndrome ) DSS
ผู้ป่วยไข้เลือดออกแดงกี่ที่มีอาการและผลเลือดยืนยัน ร่วมกับอาการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ ชีพจรเบาเร็ว มีการเปลี่ยนแปลงในระดับความดันโลหิตโดยตรวจพบมี Pulse pressure แคบน้อยกว่า 20 mmHg มือเท้าเย็น กระสับกระส่าย poor capillary refilled <2 วินาที
Rabies (โรคพิษสุนัขบ้า)
ระยะฟักตัวของโรคพิษสุนัขบ้า (ตั้งแต่ถูกกัดจนกระทั่งเกิดอาการ) คือ 5 วัน ถึง 8 ปี แต่ส่วนใหญ่แล้วจะเกิดขึ้นในช่วง 20-90 วัน
อาการแบ่งออกเป็น 3 ระยะ
ระยะที่ 1 อาการนำของโรค (Prodrome) ผู้ป่วยจะมีอาการต่าง ๆ ที่ไม่จำเพาะ
ระยะที่ 2 ปรากฏอาการทางระบบประสาท (Acute neurologic) เป็นอาการเฉพาะของโรคนี้ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นภายหลังระยะอาการนำของโรคประมาณ 2-10 วัน
แบบคลุ้มคลั่ง (Furious rabies)
แบบอัมพาต (Paralytic rabies)
แบบแสดงอาการไม่ตรงต้นแบบ (Non-classic)
ระยะที่ 3 ไม่รู้สึกตัว หรือ ระยะสุดท้าย (Coma)
การวินิจฉัยโรคพิษสุนัขบ้า
Direct fluorescent antibody test เป็นการตัดชิ้นเนื้อผิวหนังบริเวณคอ แล้วนำมาตรวจหาเชื้อไวรัสด้วยวิธีการใช้สารเรืองแสง
RT-PCR เป็นการตรวจหาเชื้อไวรัสจากน้ำลาย น้ำไขสันหลัง หรือเนื้อเยื่ออื่น ๆ จากผู้ป่วย
ในกรณีที่ผู้ป่วยเสียชีวิตแล้ว เมื่อนำศพไปผ่าพิสูจน์จะพบลักษณะของเซลล์ประสาทที่มีความจำเพาะกับโรคนี้มาก ที่เรียกว่า “เนกริบอดีส์” (Negri bodies) อยู่ภายในเซลล์
การพยาบาลผู้ป่วย/ผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า
1.การรักษาบาดแผลตามลักษณะของแผลที่ถูกสัตว์กัด
2.การให้รับประทานยาปฏิชีวนะ
3.การฉีดยาป้องกันบาดทะยัก
4.การฉีดยาป้องกันแก่ผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า
5.หากมีอาการกลัวน้ำ กลัวลม กดูแลรักษาไปตามอาการ
6.ให้คำแนะนำในการดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคพิษสุนัขบ้า
Thyphoid (ไข้รากสาดใหญ่)
สาเหตุ : เกิดจากการติดเชื้อไทฟอยด์ (Salmonella typhi) ซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรีย
การติดต่อ : การติดต่อเกิดได้เฉพาะจากคนสู่คนเท่านั้น โดยผู้ที่ป่วยหรือผู้ที่เป็นพาหะจะขับเชื้อออกมาทางอุจจาระเป็นหลัก
ระยะฟักตัวของโรค (ตั้งแต่ได้รับเชื้อจนกระทั่งเกิดโรค) : ประมาณ 3-21 วัน
อหิวาตกโรค (Cholera)
การติดเชื้อ : เชื้อแบคทีเรีย vebrio cholera
การฟักตัว : 24 ชั่วโมง - 5วัน
การติดต่อ
ทางตรง การรับประทานอาหาร และนํ้าดื่มที่ไม่สะอาดมีเชื้ออหิวาต์ปะปน
ทางอ้อม การใช้สิ่งของร่วมกับผู้ป่วย หรือได้รับเชื้อจากน้ำดื่มและอาหารที่ไม่สะอาด
อาการ
ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียนเล็กน้อย ถ่ายเหลวหรือถ่ายเป็นน้ำวันละหลายครั้ง
ถ่ายเป็นน้ำรุนแรงโดยไม่มีอาการปวดท้อง
หากเป็นรุนแรงมาก ในช่วง 24 ชั่วโมงแรกปริมาณอุจจาระมากกว่า 1 ลิตร/ชั่วโมง ผู้ป่วยจะมีอาการกระหายน้ำมาก ปากคอแห้ง ปัสสาวะน้อยเป็นสีเหลืองเข้มหรือไม่มีเลย ชีพจรเต้นเร็ว กระสับกระส่ายหรือซึม
การป้องกัน
ล้างมือให้สะอาด
ดื่มน้ำต้มสุกและสะอาด
รักประทานอาหารปรุงสุก
Leptospirosis
ระยะฟักตัว : 2- 20 วัน
การติดเชื้อ : Leptospira อาศัยอยู่ในท่อหลอดไตของสัตว์ได้หลายชนิด
สาเหตุการติดต่อ การกินอาหาร ดื่มน้ำปัสสาวะของสัตว์ เดินลุยน้ำ อาบน้ำที่ปนเปื้อนปัสสาวะวะ เชื้อจะเข้าทางบาดแผล ทางเยื่อบุจมูก ปากหรือตา
อาการที่สำคัญแบ่งเป็น 2 ระยะ
ระยะเชื้อเข้ากระแสเลือด (Leptospiremic phase )
ปวดศีรษะทันที มักจะปวด บริเวณหน้าผาก หรือหลังตา
ปวดกล้ามเนื้ออย่างรุนแรงมากโดยเฉพาะบริเวณน่อง โคนขา กล้ามเนื้อหลัง
ไข้สูง 28-40 องศา เยื่อบุตาแดง
ระยะร่างกายสร้างภูมิ (Immune phase) ระยะนี้ถ้าเจาะเลือดจะพบภูมิต่อเชื้อเพิ่ม
หลังจากมีไข้ 1 สัปดาห์ โดยจะเป็นระยะที่ไข้ลง 1-2 วันแล้วกลับมีไข้ขึ้นอีก
มีอาการ ปวดศีรษะ ไข้ต่ำๆ คลื่นไส้อาเจียน
คอแข็งมีการอักเสบของเยื่อหุ้มสมอง
มีเชื้อออกมาในปัสสาวะ
บาดทะยัก (Tetanus)
ติดเชื้อ Bacteria Clostridium tetani
ระยะฟักตัว 7-21 วัน
พยาธิสภาพ เกิดจาก Ganglioside ที่ myoneural junction ของกล้ามเนื้อเรียบและ neuronal membrane ในไขสันหลัง เข้าไปใน Axon ของ cell ประสาท ทำให้หลั่งสาร GABA มีผลยับยั้งต่อ Motor neuron ทำให้เกิดการเกร็งของกล้ามเนื้อรุนแรง
Scrub Typhus โรคไข้รากสาดใหญ่
ติดเชื้อแบคทีเรียในกลุ่มริกเก็ตเซีย Rickettsia tsutsugamushi ( Rickettsia orientalis)
ระยะฟักตัว คือ ตั้งแต่ได้รับเชื้อจนกระทั่งแสดงอาการประมาณ 6-20 วัน โดยเฉลี่ยประมาณ 10 – 12 วัน
พาหะ ตัวไรอ่อน (Chigger), หมัด(Flea)
อาการและอาการแสดง
Classical type
มีไข้สูง
ปวดศีรษะมาก
ปวดเมื่อยตามตัว
Mild type
มีไข้
ปวดศีรษะ
ปวดเมื่อยตามตัวบ้าง
อาจพบผื่น ตาแดงเล็กน้อย
Subclinical type
มีไข้เล็กน้อย
มีปวดศีรษะและมึนศีรษะบ้าง
อาการไม่แน่นอน
Meliodosis
ติดเชื้อแบคทีเรีย Burkholderia pseudomallei ชนิด Gram-negative bacilli
รับเชื้อเข้าสู่ร่างกายโดยการสัมผัส ดิน หรือ น้ำที่มีการปนเปื้อนผ่านผิวหนังที่มีแผล หรือ หายใจเอาฝุ่นละออง
ระยะฟักตัว 1-21 วัน โดยเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 9 วัน
อาการ
Localized Infection
Localized pain or swelling
Fever
Ulceration, Cellulitis
Abscess
Pulmonary Infection
Cough
Chest pain
High fever
Headache
Anorexia
Bloodstream Infection
Fever
Headache
Respiratory distress
Abdominal discomfort
Joint pain
Disseminated Infection
Fever
Weight loss
Stomach or chest pain
Muscle or joint pain
วัณโรค
การแพร่ของเชื้อโรค Transmission เชื้อวัณโรคจะแพร่โดยเชื้ออยู่ในเสมหะที่มีขนาด 1-5 ไมครอน
สภาวะที่เอื้อต่อการติดเชื้อ
จำนวนเชื้อวัณโรคที่อยู่ในอากาศ
ความเข้มข้นของเชื้อโรคซึ่งขึ้นกับปริมาณเชื้อและการถ่ายเทของอากาศ
ระยะเวลาที่คนอยู่ในห้องที่มีเชื้อโรค
เชื้อที่เป็นสาเหตุ
M.tuberculosiso var hominis
M.bovis
M.africanum
M.microti
พยาธิสภาพ รับเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย เชื้อโรคจะเข้าที่เนื้อปอด แล้วแบ่งตัวในเซลล์มาโครฟาจของถุงลม เมื่อแบ่งตัวแล้วจะส่งไปยังระบบน้ำเหลืองที่ต่อมน้ำเหลืองขั้วปอด (Hilar node)
การปฏิบัติตนเมื่อเป็นวัณโรค
กินยาตามชนิดและขนาดที่แพทย์สั่งให้อย่างสม่ำเสมอจนครบกำหนด
ควรงดสิ่งเสพติดทุกชนิด เช่น เหล้า บุหรี่ ฯลฯ
สวมผ้าปิดจมูก เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไปสู่ผู้อื่น
เปลี่ยนผ้าปิดจมูกที่สวม บ่อย ๆ เพราะผ้าปิดจมูกเอง ก็เป็นพาหะได้เช่นกัน
บ้วนเสมหะลงในภาชนะ หรือกระป๋องที่มีฝาปิดมิดชิด