Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดแูล บุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาร…
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดแูล บุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
ระบบหายใจ
อวัยวะในทางเดินหายใจส่วนล่าง
หลอดลมฝอย (Bronchiole)
ปอด (Lung)
หลอดลม (Trachea)
กะบังลม (Diaphragm)
หลอดลม (Trachea)
การทำงานของระบบหายใจ
อัตราการหายใจประมาณ 14-18 ครั้งต่อนาที
อวัยวะในทางเดินหายใจส่วนบน
จมูก (Nose)
คอหอย (Pharynx)
กระบวนการทำงานระบบหายใจ
หายใจเข้า
กรดูกหน้าอกยกตัวสูงขึ้น
กระบังลมเคลื่อนต่ำลง
ช่องอกขยาย
กระดูกซี่โครงเคลื่อนตัวลง
หายใจออก
กรดูกหน้าอกยกตัวสูงขึ้น
ช่องอกขยาย
ความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
อาการรุนแรงอย่างหายใจไม่ออก
หายใจติดขัด
มีคาร์บอนไดออกไซด์คั่งในเลือด
โรคในระบบทางเดินหายใจ
คออักเสบ
หอบหืด
โรคหวัด
ถุงลมโป่งพอง
การดูแลขั้นพื้นฐานของบคุคลด้านอากาศเพื่อการหายใจ
การประเมินระดับออกซิเจนในร่างกาย
ค่าความดันโลหิต
ระดับความรู้สึกตัว
นับอัตราการเต้นหัวใจ
สีของผิวหนัง
การวัดความอิ่มตัวออกซิเจนในเลือด
ความอิ่มตัวในเลือดน้อยกว่า90%แสดงถึงภาวะขาดออกซิเจน
ค่าปกติ 95-100%
การประเมินสภาพร่างกาย
การดูแลส่งเสริมให้ผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุได้รับออกซิเจน
สอนเทคนิคการหายใจ
การผ่อนลมหายใจออกทางปาก
หายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกระบังลม
หายใจเข้า ออก ลึกๆ
กระตุ้นผู้ป่วยให้หายใจอย่างมีประพสิทธิภาพ
การจัดท่า
ท่านอนศรีษะสูง
ใช้หมอนวางบนโต๊ะสำหรับหนุนแขน
การให้ออกซิเจน
เครื่องทำความชื้น
อุปกรณ์ให้ออกซิเจน
ชนิดสายยางเข้าจมูก
ชนิดหน้ากากออกซิเจน
แหล่งออกซิเจน
ออกซิเจนเคลื่อนย้ายได้
ออกซิเจนระบบท่อ
ขั้นตอนการให้ออกซิเจน
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบ
จัดท่าให้ผู้ป่วย
ล้างมือให้สะอาด
เติมน้ำกลั่นปราศจากเชื้อลงในเครื่องทำความชื้น
วิธีปฏิบัติการให้ออกซิเจนชนิดหน้ากาก
ปรับอัตราการไหลออกซิเจน อัตรา 10-15 ลิตร/นาที
วางหน้ากากให้ตรงกับดั้งจมูกแล้วจึงครอบคางให้ กระชับ
ต่อสายหน้ากากเข้ากับเครื่องทำความชื้น ป้องกัน เยื่อบุทางเดินหายใจแห้ง
การขจัดเสมหะออกจากทางเดินหายใจ
การเคาะปอด
การจัดท่าเพื่อระบายเสมหะ เป็นวิธีที่ช่วยในการระบายเสมหะ
การคาท่อระบาย ทรวงอกกระดูกซี่โครงหัก
การพ่นละอองฝอย
เป็นการใช้ละอองน้ าพ่นเพื่อเพิ่มความชุ่มชื้น ท าให้ เสมหะอ่อนตัวลง
การกระตุ้นให้ผู้ป่วยไออย่างมี ประสิทธิภาพ
การดูดเสมหะ
เป็นการใช้สายดูดเสมหะ ปราศจากเชื้อใส่ผ่านเข้าทางปาก
จมูกท่อเจาะ หลอดลมคอหรือท่อหลอดลมคอ เพื่อน าเสมหะออก จากทางเดินหายใจ
การคงไว้สภาพทางเดินหายใจโล่ง
ท่อเจาะหลอดลมคอ (tracheostomy tube)
ต้องระมัดระวังเลือดออกไปอุดกั้น ทางเดินหายใจในระยะแรกหลังเจาะคอใหม่ ๆ
ท่อหลอดลมคอ(endotracheal tube)
ดูแลผู้ป่วยให้สารน้ำ
ประมาณวันละ 2-3 ลิตร
น้ำอุ่นจะช่วยให้เสมหะ อ่อนตัว ขับออกได้ง่าย
ไออย่างมีประสิทธิภาพ
ให้ผู้ป่วยนั่งตัวตรง ก้มตัวไปข้างหน้าเล็กน้อย
หายใจเข้า-ออกลึก ๆ ช้า ๆ 3-4 ครั้ง
ครั้งสุดท้ายหายใจเข้าแล้วกลั้นหายใจไว้ ไอออกมาแรง ๆ เพื่อขับ เสมหะออก