Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พัฒนาการทางการพยาบาลในต่างประเทศ, นางสาวศุภิสรา หงษ์ทอง เลขที่ 84 …
พัฒนาการทางการพยาบาลในต่างประเทศ
ด้านการศึกษาพยาบาล
ก่อนสมัยไนติงเกล
เรียนรู้จาก
สัญชาตญาณการเป็นแม่
การสังเกตจากสัตว์ป่า
สืบทอดต่อๆกันมาในชนเผ่า
การรักษาพยาบาล
เช่น
ให้การประคบ
มีการใช้สมุนไพรและสุขวิทยาพื้นฐาน
เชื่อว่า
ความปารถนาที่จะดูแลผูู้ป่วยก็เพียงพอ ไม่มีความต้องการหลักสูตรศึกษาอย่างเป็นทางการ
การปฏิรูปสังคม
เปิดแนวทางการศึกษา
การศึกษาจำกัดแค่ผู้ที่มีฐานะดี
สตรีที่ได้รับการศึกษาต้องปฏิบัติงานมากมาย
สำหรับสตรีไม่ได้รับการสนับสนุนให้ได้รับการศึกษาตามแผน
หลักสูตรการศึกษาทางการพยาบาล
ผู้ริเริ่มหลักสูตร
นักบวชนิกายลูเทอร์
ทีโอดอร์ ฟลีดเนอร์
ปัญหาที่พบ
การขาดแคลนทรัพยากร
พ.ศ.2389
ก่อตั้งโรงเรียนฝึกหัดพยาบาล
คุณสมบัตินักเรียน
ผู้หญิง อายุ18ปี
ความประพฤติเรียบร้อย สุขภาพแข็งแรง
การศึกษา
ศึกษาระยะเวลา 3 ปี
โดย
แพทย์เป็นผู้สอนทฤษฎี
นางฟลีดเนอร์สอนภาคปฏิบัติและวิชาเภสัชศาสตร์
ทดลองเรียน 3 ปี
การเรียนขั้นพื้นฐาน
คือ
ความสามารถที่จะดูแลผู้ป่วยได้อย่างเรียบร้อย
สมัยไนติงเกล
ประวัติ ฟลอเรนซ์ ไนติงเกล
เกิดที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม ค.ศ.1820
เข้าศึกษาอบรมวิชาพยาบาลที่ประเทศเยอรมนี
ค.ศ.1857
เกิดสงครามไครเมีย
อาสาไปช่วยดูแลทหารที่บาดเจ็บจากสงคราม
ผู้คนต่างพากันเรียกเธอว่า The Lady with the Lamp
กลางดึกจะถือตะเกียงเล็ก ๆ คอยเดินตรวจอาการของเหล่าทหารเสมอ
เป็นผู้ที่ริเริ่มเสนอแนวคิดเรื่องการรักษาความสะอาดในสถานพยาบาล
ก่อตั้งโรงเรียนการพยาบาลที่เป็นต้นแบบของโรงเรียนพยาบาลทั่วโลก
หลังสิ้นสุดสงคราม
พัฒนากิจการพยาบาลให้ก้าวหน้าขึ้น จนได้รับการยอมรับให้เป็นผู้จัดระเบียบด้านสุขภาพ
ด้านการปฏิบัติพยาบาล
สมัยโบราณก่อนคริสต์ศักราช
ภายในครอบครัว
ผู้หญิงหรือแม่จะทำหน้าที่ดูแลปกป้องเด็ก คนชราและคนป่วยในครอบครัว
เชื่อว่า
เกิดจาก
สัญชาตญาณของการรักตนเอง
สัญชาตญาณความเป็นแม่
ระยะเริ่มต้นแห่งอารยธรรม
วิธีการรักษา
เกิดจาก
ความเชื่อทางศาสนา
การเชื่อโชคลาง
ผู้มีบทบาทในการรักษา
พระ
ยาที่ใช้รักษา
ได้แก่
พืชสมุนไพร
เวทมนต์คาถา
การพยาบาลกล่าวถึงเฉพาะในด้านการบริการเท่านั้น
ยุคเริ่มตั้นศาสนาคริสเตียน
การพยาบาลอยู่ในมือของกลุ่มแม่ชีและสตรีใจบุญ
ลักษณะการปฏิบัติงาน
ได้แก่
ช่วยเหลือตามบ้าน
ต้นกำเนิดของพยาบาลอนามัย
ในโบสถ์
โรงพยาบาล
บริการพยาบาลเป็นไปในลักษณะขงพยาบาลในชุมชน
ยุคกลางระยะต้น (ค.ศ.500-1000)
เกิดสงครามครูเสด
ผู้ทำหน้าที่พยาบาล
ภรรยาที่ติดตามสามีไปสงคราม
บุรุษ
สิ้นสุดสงคราม
เกิดกาฬโรคระบาด
ผู้คนอพยพและจ้างคนรับใช้เป็นผู้ดูแล
งานพยาบาลจึงตกอยู่ในมือของคนรับใช้
ยุคเรเนสซองค์ (ค.ศ.1500-1700)
การเมืองเข้ามาแทรกแซงในการบริหารโรงพยาบาล เกิดการฉ้อโกง
การพยาบาลในเรื่องส่วนตัวถือเป็นงานคนใช้
เช่น
อาบน้ำ
สวนอุจจาระ
การพยาบาลตกในมือของคนไม่มีความรู้
เรียกยุคนี้ว่า
ยุคมืด
พยาบาลไม่ต่างจากคนใช้
ผู้แก้ไขสถานการณ์
มิสฟอเรนท์ ไนติงเกล
ผู้ก่อกำเนิดวิชาชีพพยาบาล
ยุคแรกในสหรัฐอเมริกา
แพทย์ผู้รักษา
พระ
วิธีรักษา
การสวดมนต์อ้อนวอน
มีการพัฒนาทั้งทางด้านการศึกษาและการปฏิบัติงานพยาบาล
การวิจัยทางการพยาบาล
มิสฟอเรนซ์ ไนติงเกล
เน้นคุณค่า
การสังเกต
การจดบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง
การวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ
สิ่งสำคัญทางการพยาบาล
การจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับผู้ป่วย
ได้แก่
อากาศบริสุทธิ์
แสงสว่าง
ความอบอุ่น
ได้วิจัย
วิธีลดอัตราตายของทหารจากการบาดเจ็บในสงคราม
ค.ศ.1900-1949
การวิจัยมุ่งเน้นการศึกษาพยาบาลมากกว่าการปฏิบัติ
มีวารสารทางการพยาบาลเกิดขึ้นครั้งแรก
ชื่อ American Jonmal of Nursing
มีการวิจัยแบบกรณีศึกษาลงพิมพ์ในวารสาร
ค.ศ.1952
เริ่มมีการตั้งแผนกวิจัยและสถิติขึ้นในสมาคมแห่งชาติอเมริกา
เพื่อ
กระตุ้นสมาชิกให้มีการทำวิจัย
ให้ทุนและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการวิจัย
ผลการวิจัยทางการพยาบาล
เกี่ยวกับ
บทบาท
กิจกรรมของพยาบาล
นำไปสู่
การกำหนดหน้าที่ของพยาบาล
มาตรฐานและคุณภาพของการพยาบาล
ค.ศ.1960-1969
พัฒนาศาสตร์ทางการพยาบาลอย่างจริงจัง
เรื่องที่วิจัย
ได้แก่
การตอบสนองของผู้ป่วย
การปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในสภาวะต่างๆ
การดูแลผู้สูงอายุ แม่และเด็ก
การดูแลผู้ป่วยสาขาอายุรกรรมและศัลยกรรม
ค.ศ.1970-1979
มีการจัดตั้งหลักสูตรปริญญาเอกทางการพยาบาล
การศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาศาสตร์การพยาบาลเกิดขึ้น
ค.ศ.1980-1989
มีการวิจัยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่วนใหญ่วิจัยทางคลินิก
ครอบคลุมในเรื่อง
ปัญหาสุขภาพของบุคคล
การตอบสนองต่อสภาวะเจ็บป่วย
มุมมองของสังคมต่อวิชาชีพพยาบาล
มีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
มีความรู้ความชำนาญในวิชาชีพ
เสียสละ อดทนและทุ่มเท
การพัฒนาองค์กรทางวิชาชีพทางการพยาบาล
ในช่วงต้น
การพยาบาลจะมุ่งเน้นความสำเร็จของงานเป็นสำคัญ
ระยะต่อมา
คำนึงถึงความพอใจ ความสะดวกสบายของผู้ปฏิบัติงาน
เน้นในเรื่องของมนุษย์สัมพันธ์
ปัจจุบัน
พัฒนาการทำงานเป็นทีม จะเห็นได้จากการมอบหมายงานของพยาบาล
องค์กรวิชาชีพ
สหพันธ์การพยาบาลแห่งชาติ (NLN)
ก่อตั้งเมื่อ
พ.ศ.2494
หน้าที่
ประเมินความต้องการพยาบาลของประชาชน
สนับสนุนการบริการเพื่อพัฒนาการศึกษาพยาบาล
สมาคมพยาบาลแห่งประเทศอเมริกา
หน้าที่
กำหนดนโยบายและกฎหมายในประเด็นการดูแลสุขภาพและการพยาบาล
กำหนดมาตรฐานของวิชาชีพพยาบาล
สภาการพยาบาลสากล (ICN)
ก่อตั้งเมื่อ
ค.ศ.1899
หน้าที่
ควบคุมมาตรฐานการรักษาพยาบาล
เผยแพร่นโยบาลด้านสุขภาพ
ส่งเสริมให้เกิดความก้าวหน้าทางด้านวิชาการเกี่ยวกับการพยาบาล
ส่งเสริมให้พยาบาลเป็นที่ยอมรับจากบุคคลทั่วโลกมากขึ้น
นางสาวศุภิสรา หงษ์ทอง เลขที่ 84
รหัสนักศึกษา 622001087
อ้างอิง
วัลลภา บุญภา.(2555).ประเด็นและแนวโน้มทางวิชาชีพ.สืบค้น 9 พฤษภาคม 2563,
จาก
http://sutir.sut.ac.th:8080/sutir/handle/123456789/5772?mode=full&fbclid=IwAR3XsWCaLRG8O99HJlSINfK37kx-pY3eaXTm1LhdAVCXmLaU6NqhTGgftts
Natthawut Suriya.(2555).ประวัติฟลอเรนซ์ ไนติงเกล.สืบค้น 9 พฤษภาคม 2563,
จาก
https://www.gotoknow.org/posts/490616
Titima Jekrak.(2558).องค์กรวิชาชีพพยาบาล.สืบค้น 9 พฤษภาคม 2563,จาก
https://prezi.com/zosqbni8hppj/presentation/