Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาองค์กร (Organization Development Tools),…
เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาองค์กร (Organization Development Tools)
การบริหารที่ยึดวัตถุประสงค์เป็นตัวกําหนด (MBO: Management by objective)
หัวหน้าและลูกน้องมีบทบาทร่วมกันในการกําหนดเป้าหมายและขอบเขตของงานเพื่อให้บรรลุผลสําเร็จตามต้องการ
ขั้นตอนของการบริหาร
3.กําหนดจุดตรวจสอบ (Estabishing check points)
4.การประเมินการปฏิบัติงาน (Appraisal of performance)
2.ปรับโครงสร้างขององค์การ (Revision of organization structure)
1.กําหนดวัตถุประสงค์ (Setting of objectives)
ระบบควบคุมคุณภาพ/กลุ่มคุณภาพ (Quality control circle : QCC,QC)
การดําเนินการโดยคนกลุ่มน้อย ดําเนินกิจกรรมเพิ่มพูนคุณภาพโดยตนเองอย่างอิสระ ณ สถานที่ทํางานเดียวกัน ร่วมกันทุกคนอย่างต่อเนื่องปรับปรุงสถานที่ทํางานให้สะอาดแจ่มใสน่าอยู่
วัตถุประสงค์
เพิ่มขีดความสามารถในการควบคุมงานและภาวะผู้นําของ first line supervisor
ควบคุมคุณภาพ เพิ่มพูนความสํานึกในคุณภาพปัญหาในงานและแก้ไขปรับปรุงงาน
เพื่อกิจกรรมคุณภาพทั่วทั้งองค์กร เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
หลักการทําระบบ
การวางแผน (Plan: P) ค้นหาปัญหา (โอกาสพัฒนา ) วิเคราะห์ข้อมูล สาเหตุของปัญหาระดับของปัญหา เลือกวิธีแก้ปัญหา
การปฏิบัติ (DO: D) นําวิธีแก้ปัญหาที่เลือกไปปฏิบัติ
การตรวจสอบ (Check: C) เปรียบเทียบก่อนและหลังว่าแตกต่างกันอย่างไร พร้อมหาสาเหตุแก้ไข
การแก้ไขปรับปรุง (Act: A) หากเป็นที่พอใจและยอมรับทุกฝ่ายนําไปกําหนดมาตรฐานและเผยแพร่
การจัดการคุณภาพโดยรวม (Total quality management : TQM)
การจัดระบบและวินัยในการทํางาน
ความสัมพันธ์ของการจัดการคุณภาพโดยรวม
เน้นให้ความสําคัญกับลูกค้า (Customer Oriented)
มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement)
สมาชิกทุกคนต้องมีส่วนร่วม (employee Involvement)
วัตถุประสงค์
เพื่อลดต้นทุนและต้องการพัฒนาคุณภาพ
เพื่อสร้างความพอใจและความซื่อสัตย์ของลูกค้า
เพื่อสร้างความพอใจในงานและพัฒนาคุณภาพชีวิตของพนักงาน
เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและการเจริญเติบโตในอนาคตขององค์กร
การบริหารแบบซิกซิกม่า (Six sigma)
มุ่งเน้นให้เกิดความพึงพอใจของลูกค้าเป็นหลัก
ขั้นตอน
Measurement เป็นการขั้นตอนการวัด ซึ่งเป็นการประเมินปัญหาและระบุปัญหา
Analyze เป็นการวิเคราะห์ว่าปัญหาต่าง ๆ เริ่มมาจากที่ใด เพื่อหาทางแก้ไขโดยการเปรียบเทียบศักยภาพขององค์การและคู่แข่ง
Improvement การแก้ไข
Control การควบคุมตัวแปรที่สำคัญ
ระบบการบริหารแบบลีน (Lean Management System)
แนวการออกแบบหรือการปรับปรุงกระบวนการหรือคุณค่าที่เป็นระบบ
วัตถุประสงค์
กําจัดของเสีย ปรับปรุงคุณภาพ ลดต้นทุน
เพิ่มความพึงพอใจให้กับลูกค้า
ปรับปรุงความพอใจให้กับพนักงาน
เพิ่มความปลอดภัยในการทํางาน ใช้เวลาน้อย ใช้พื้นที่น้อย ใช้ความพยายามจากมนุษย์น้อยและใช้วัตถุดิบน้อย
องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning organization: LO)
วินัย 5 ประการ
Personal Mastery ความสามารถเฉพาะของบุคคล
Mental Model โลกทัศน์หรือความคิดความเข้าใจที่คนมีต่อโลก ไม่ควรยึดติด
Share vision ฝันเดียวกัน เพื่อนําไปสู่เป้าหมายขององค์กรร่วมกัน
Team learning การเรียนรู้เป็นทีม
System thinking ระบบการคิดของคนในองค์กร
การบริหารจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM)
การบริหารจัดการเพื่อให้คนที่ต้องการใช้ความรู้ ได้รับความรู้ที่ต้องการ ในเวลาที่ต้องการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ
Tacit Knowledge การปฏิบัติ
Explicit Knowledge ทฤษฎี
การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change management)
ขั้นตอน
การวางแผนการเปลี่ยนแปลง (Planning for Change)
การนําแผนการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ (Implementing Change)
2.1 การกําหนดกลยุทธ์ในการนําแผนการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ
2.2 การสื่อสารความเข้าใจถึงแผนการเปลี่ยนแปลง
2.3 การจัดแบ่งงาน
2.4 การจัดกําลังคน
2.5 การจัดระเบียบวิธีการดําเนินงาน
2.6 การพัฒนาบุคคล
2.7 การทําให้การเปลี่ยนแปลงกลายเป็นแบบแผนวัฒนธรรมขององค์การ
2.8 การจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรในการบริหารการเปลี่ยนแปลงนั้น
การติดตามประเมินผลและรักษาผลการเปลี่ยนแปลง (Evaluating and Maintaining Change)
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award: PMQA)
สําหรับแนวทางการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่คือการเปลี่ยนแปลงสภาพการณ์ที่เป็นอยู่ในปัจจุบันให้เป็นองค์กรสมัยใหม่ ที่ยึดหลักธรรมาภิบาล
จุดมุ่งเน้นที่สําคัญ 6 ประการ
การนําองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์
มีความรับผิดชอบต่อสังคม ให้ความสําคัญกับประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ปรับปรุงระบบบริหารจัดการให้มีความยืดหยุ่นคล่องตัว
พัฒนาการบริหารคนและการพัฒนาคน มีความคิดริเริ่มและเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ตัดสินใจโดยอาศัยข้อมูลสารสนเทศ
ทํางานโดยมุ่งผลลัพธ์เป็นสําคัญ (ประโยชน์สุขของประชาชน)
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (RESULT BASED MANAGEMENT - RBM )
การบริหารโดยมุ่งเน้นผลการปฏิบัติงานหรือผลสัมฤทธิ์เป็นหลักจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8
วัตถุประสงค์
คือทํางานให้เสร็จตามกําหนด เกิดผลดีต่อหน่วยงาน
ส่วนราชการใช้ทรัพยากรของทางราชการให้คุ้มค่า
เน้นการทํางานโดยึดผลลัพธ์เป็นหลัก มีการวัดผลลัพธ์และค่าใช้จ่ายตามปกติ
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best practice)
วิธีการปฏิบัติที่ทําให้องค์กรประสบความสําเร็จหรือคือการปฏิบัติทีนําให้องค์กรสู่ความเป็นเลิศ
โดยมีคุณลักษณะที่สําคัญ
มีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศอย่างเห็นได้ชัด
ได้รับการยอมรับจากบุคคลหรือองค์กรที่เชื่อถือได้
ทําซ้ำได้ แสดงผลลัพธ์เชิงปริมาณที่เป็นที่ยอมรับ/วัดผลได้
ขั้นตอน
กระตุ้นและเปิดรับความคิด
ดำเนินการตามขั้นตอน การเสนอความคิด
ประเมินความคิด และให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการปรับปรุง
นำความคิดไปปฏิบัติ
ทบทวนเพื่อขยายผลความคิด
ยกย่อง ชมเชย และประกาศความสำเร็จ
วัดผล ทบทวน และปรับปรุง
เบ็นซ์มาร์คกิ้ง (Benchmarking)
กระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์และแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) กับองค์กรอื่น
ขั้นตอน
ประเมินตนเอง
เทียบสมรรถนะ
ศึกษาวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ประยุกต์สู่การปรับปรุง
นางสาวนภสร สุตัน เลขที่ 40 รหัสนักศึกษา 603101040