Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญญาการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญญาการติดเชื้อ
โรคเอดส์ในเด็ก
สาเหตุการเกิดโรค
เด็กจะติดเชื้อเอชไอวีขณะอยู่ในครรภ์
ทารกที่เกิดจากหญิงตั้งครรภ์ที่มีเชื้อเอชไอวีมีโอกาสรับเชื้อฯ
หากแม่มีปริมาณเชื้อเอชไอวีในกระแสเลือดจำนวนมาก
.อาการของโรคเอดส์มีดังนี้
น้ำหนักลด (มากกว่าร้อยละ ๑๐)
ท้องร่วงเรื้อรัง เป็นๆ หายๆ นานกว่า ๑ เดือน
ไข้เรื้อรัง เป็นๆหายๆ นานกว่า1เดือน
มีการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่าง ที่รุนแรงมาก
.การติดต่อของโรค
มี ตับ ม้ามโต ผิวหนังอักเสบ เจ็บป่วยบ่อย
ท้องเสียเรื้อรัง ฝ้าขาวจากเชื้อราในช่องปาก
ติดเชื้อราในปอด
.การรักษาโรค
รับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ
พบแพทย์ตามนัดทุกครั้ง
เมื่อเจ็บป่วย ควรปรึกษาแพทย์ทุกครั้ง
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
นอนหลับ พักผ่อน ให้เพียงพอ
ทำจิตใจให้ผ่องใส
หลีกเลี่ยงยาเสพติด
หลีกเลี่ยงการรับเชื้อไวรัสเอชไอวีเพิ่มเติม
เมื่อมีบาดแผล เลือดออก ควรชำระล้างบาดแผล
โรคหัดในเด็ก
สาเหตุของโรค
การรับเชื้อไวรัสผ่านทางอากาศ
การสัมผัสละอองน้ำลาย
การสัมผัสน้ำมูกของผู้ป่วย
ระยะฟักตัวของโรค
ระยะฟักตัวของโรคจะอยู่ที่ 7-21 วัน
การติดต่อของโรค
การแพร่เชื้อได้สูง 9 ใน 10 รายของผู้ที่สัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วย
อาการของโรค
ระยะติดเชื้อและฟักตัวของโรค
ระยะก่อนออกผื่น ยังไม่แสดงอาการของโรคอย่างเด่นชัด
ระยะเวลาออกผื่น
การรักษาโรค
การดื่มน้ำวันละ 6-8 แก้ว
พักผ่อนให้เพียงพอ
การป้องกันโรค
ฉีดวัคซีนเพื่อป้องกันโรค
วัณโรคในเด็ก
สาเหตุของโรควัณโรค
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
การติดต่อของโรควัณโรค
การไอ จาม
อาการและอาการแสดง
ต่อมน้าเหลืองโตที่ขั้วปอด ที่คอ และที่อื่นๆ
การรักษา
กินยาอย่างสม่าเสมอ
พักผ่อนให้เพียงพอ
กินอาหารที่มีโปรตีนสูงและมีไวตามิน
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่กาลังมีอาการไอ
ในผู้ติดเชื้อที่ไม่มีอาการ
ให้วัคซีน BCG ป้องกัน
อาการของวัณโรค
ระยะแฝง (Latent TB)
ระยะแสดงอาการ (Active TB)
การปฏิบัติตนและการดูแลเมื่อเป็นวัณโรค
กินยาตามชนิดและขนาดที่แพทย์สั่งให้อย่างสม่าเสมอจนครบกาหนด
หลังกินยาไประยะหนึ่ง อาการไอและอาการทั่ว ๆ ไปจะดีขึ้น
ควรงดสิ่งเสพติดทุกชนิด เช่น เหล้า บุหรี่ ฯลฯ
สวมผ้าปิดจมูก
เปลื่อนผ้าปิดจมูก