Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่ 2 ของการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลในระยะที่ 2 ของการคลอด
ระยะของการคลอด
ระยะที่ 1 ของการคลอด หรือระยะปากมดลูกเปิด
ระยะที่ 2 ของการคลอดหรือระยะเบ่ง
ระยะที่ 3 ของการคลอด หรือระยะรกคลอด
ระยะที่ 4 ของการคลอด
ระยะที่ 2 ของการคลอด
1.Eary / late phase
ผู้คลอดสงบลง ควบคุมได้เป็นช่วงเตรียมเบ่งต่อไป
ระยะนี้ใช้เวลา 10 - 30 นาที
2.Descent / Active phase
ปากมดลูกถ่างขยายเต็มที่ศีรษะทารกเคลื่อนลงมาที่ฝีเย็บ
ส่วนนำไม่กลับเข้าไปถึงแม้มดลูกจะคลายตัว
ระยะนี้ใช้เวลา
ครรภ์แรก 30 นาที
ครรภ์หลัง 15 นาที
3.Perineal phase
เป็นระยะตั้งแต่ศีรษะทารกอยูที่ฝีเย็บจนถึงคลอดออกมา
ฝีเย็บ บาง โป่งตึง มดลูกหดตัวรุนแรง
ระยะนี้ใช้เวลา 15 นาที แต่ไม่ควรเกิน 45 นาที
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในระยะที่ 2 ของการคลอด
แรงผลักดัน
การหดรัดตัวของมดลูกที่แรงและถี่ขึ้น
ส่วนนำของทารกเคลื่อนต่ำไปถ่างขยายปากช่องคลอดเปิด
Ferguson's reflex
Oxytocin หลั่งสูงขึ้น
มดลูกหดรัดตัวมากขึ้น
ปากมดลูกบางและขยายมากขึ้น
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้องและ diaphragm (แรงเบ่งแม่)
มีความสำคัญมากที่จะช่วยขับทารกออกมา
Pushing reflex
มารดาอยากเบ่งเพราะส่วนนำเคลื่อนต่ำกด pelvic floor และ rectum
มดลูกหดรัดตัวเป็น Voluntory ระยะแรก
Pelvic floor ถูกยืดมากเป็น Involuntory
การเปลี่ยนแปลงที่ตัวทารก
MR
ตัวทารกกระตุ้นมดลูกหดตัวแรงขึ้น
เพิ่ม fetal axis pressure
ทารกอยู่ในท่าก้มมากขึ้น
ทารกเคลื่อนตัวผ่านช่องเชิงกราน
การเปลี่ยนรูปร่างของพื้นเชิงกราน
ช่องทางคลอดเกิดการฉีกขาด
ฝีเย็บและทวารหนักจะโป่งตึง
อาการแสดงว่าผู้คลอดเข้าสู่ระยะที่่ 2 ของการคลอด
probable signs
อยากเบ่ง
ตรวจทางทวารหนักไม่พบขอบ Cx.
Bloody show มากขึ้น
MR
ฝีเย็บโป่งตึง
ทวารหนักตุง
ปากช่องคลอดอ้าเล็กน้อย
มองเห็นส่วนนำทางช่องคลอด
positive signs
ตรวจภายในไม่พบขอบของปากมดลูก
การประเมินภาวะสุขภาพ
ประเมินสภาวะทั่วไปของผู้คลอด
vital sign
weakness
Bladder full
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
uterine contraction
ประเมินทุก 15 นาที
มีภาวะเสี่ยง ทุก 5 นาที
การเคลื่อนต่ำของส่วนนำและการหมุนภายในของทารก
การประเมินระยะเวลาของการคลอด
ครรภ์แรก ใช้เวลา 1-2 ชั่วโมง
ครรภ์หลัง ใช้เวลา 30 นาที - 1 ชั่วโมง
สภาวะการเบ่งของผู้คลอด
การเบ่งที่มีประสิทธิภาพ สูดลมหายใจเข้า เบ่งยาว 6-8 วินาที
เบ่งขณะมดลูกหดตัว ท่านอนหงายส้นเท้าจิกที่นอน หรือท่า Lithotomy มือจับขอบเตียง
ระวังเกิด Valsalva maneuver
ปฏิกิริยาตอบสนองด้านจิตสังคม
ครรภ์แรก อาจกลัว
การประเมินสภาวะของทารกในครรภ์
ฟัง FHS ทุก 5 นาที ขณะมดลูกคลายตัว
การประเมินการปรับตัวทารกตามกลไกการคลอด
ระยะทารกผ่านช่องเชิงกรานแนวล่าง
internal rotation, Extension
ประเมินด้วยการ PV
ประเมิน position, attitude, synclitism/ asynclitism, molding, caput succedaneum
การดูแลมารดาในระยะที่ 2 ของการคลอด
การประเมินสภาวะทารกในครรภ์
การประเมินสภาวะผู้คลอด
สังเกตอาการผิดปกติต่างๆ
NPO ให้ IV fluid
พักผ่อน ดูแลความสุขสบาย
บรรเทาความเจ็บปวด
การดูแลเกี่ยวกับการดำเนินการคลอด
สังเกตการหดตัวของมดลูก
สังเกตการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
การเจาะถุงน้ำ
การเบ่ง
การเตรียมด้านร่างกายและจิตใจเพื่อการคลอด
เตรียมสถานที่ เครื่องมือ เครื่องใช้
set ผ้า
set อุปกรณ์ในการคลอดทารก
set อุปกรณ์ในการเย็บแผล
set scrub
เตรียมตัวผู้คลอด
จัดท่าคลอด
นอนหงายชันเข่า
นอนหงายขึ้นขาหยัง
นอนตะแคง
ท่าศีรษะลำตัวสูง
ทำความสะอาดผู้คลอด
หลักการ ไม่ข้ามของ ยึดหลัก sterile technique
การเตรียมตัวผู้ทำคลอด
เตรียมทีมทำคลอด
ขั้นตอนกลไกการคลอด
Engagement
ส่วนที่กว้างที่สุดของส่วนนำผ่านเข้า pelvic inlet
ปรับศีรษะให้เหมาะสมกับรูปร่างของช่องเชิงกราน
การตะแคงของศีรษะ
เกิด molding ของศีรษะ
Flexion
การก้มศีรษะของทารก
Fetal axis pressure
ลักษณะของช่องเชิงกราน
แรงบีบจากผนังทางคลอดโดยรอบศีรษะทารก
แรงต้านทานเสียดสีของทางคลอดที่ขวางทางการเคลื่อนผ่านของทารก
Descent
การเคลื่อนต่ำของศีรษะทางผ่านช่องคลอดออกสู่ภายนอก
แรงดันจากน้ำคร่ำ
Fetal axis pressure
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้อง
Internal rotattion
การหมุนของศีรษะทารกภายในช่องเชิงกรานเพื่อให้เหมาะสมกับช่องทางคลอด
Extension
การเงยของศีรษะทารกขณะผ่านพ้นช่องทางคลอดออกมาภายนอก
Restitution
การหมุนกลับของศีรษะทารกประมาณ 45 องศา เพื่อให้สัมพันธ์กับไหล่ที่อยู่ในช่องทางคลอด
External rotation
การหมุนของศีรษะทารกต่อไปอีก 45 องศา
Expulsion
การคลอดไหล่ ลำตัว สะโพก และขา ผ่านช่องทางคลอดสู่ภายนอก
การทำคลอดปกติ
การพิจารณาย้ายผู้คลอดเข้าห้องคลอด
ครรภ์แรก เมื่อปากมดลูกเปิด 10 ซม
ครรภ์หลัง เมื่อปากมดลูกเปิด 7-8 ซม
มีประวัติคลอดเร็ว เมื่อปากมดลูกเปิด 5-6 ซม
การเข้า case ทำคลอด
ครรภ์แรก เข้าเมื่อพบ head seen
ครรภ์หลัง เข้าเมื่อปากมดลูกเปิด 10 ซม
มีประวัติคลอดเร็ว เข้าเมื่อปากมดลูกเปิด 7-8 ซม
การทำคลอดศีรษะทารก
1.เมื่อ ศีรษะทารกมี crowning ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ sefe perineum ห่างจาก fourchette 1 ซม
เมื่อ Sub occiput ยันที่ขอบล่างกระดูกหัวเหน่า ใช้มือขวาช่วยดันให้เงยขึ้นช้าๆ จน Biparietal diameter คลอดออกมาให้หยุดเบ่ง
3.ใช้มือซ้ายจับศีรษะเด็กที่อยู่เหนือ Perineum ให้เงยขึ้น มือขวารวบบริเวณ perineum และดันที่ 2 ข้างของรูทวารหนักให้หน้าผากเงยขึ้น
หน้าผากคลอดแล้ว มือขวาช่วยรูด perineum ผ่านหน้าคางทารกและรวบผ้า sefe perineum ทิ้งขยะทันที
ภายหลังศีรษะคลอดในท่า Extention ทารกจะหมุน occiput ไปทางเดิม ถ้าไม่หมุนผู้ทำคลอดช่วยหมุน เพื่อให้เกิด Restitution, External rotation. เช็ดตาทารกด้วย NSS สอดนิ้วชี้เข้าปาก เพื่อดูุดมูกในปากและจมูก
การทำคลอดไหล่และลำตัวทารก
การตรวจสายสะดือพันคอทารก
สอดนิ้วเข้าไปคลำรอบคอทารก
สายสะดือพัน 1 รอบสอดนิ้วเข้าไประหว่างสายสะดือและคอ
พัน 2-3 รอบ ใช้ artery clamp 2 ตัวหนีบแล้วตัด
การทำคลอดไหล่
ประคองศีรษะเด็กด้วยมือ 2 ข้าง โน้มศีรษะทารกลงมา ส่วนบนเห็นซอกรักแร้จึงหยุดดึง ห้ามดึงรั้งใต้คาง ระวังการเกิดภาวะคอเอียง
2 .การทำคลอดไหล่หลังและลำตัวทารกจับศีรษะเหมือนการทำคลอดไหล่หน้า โน้มศรีษะขึ้นในทิศทาง 45 องศา กับแนวดิ่ง
3.เมื่อเห็นซอกรักแร้ ให้ดึงทารกออกมาในแนวตรง ห้ามสอดนิ้วดึงใต้รักแร้ทารก ระวัง Erb-Duchenne
ช่วยเหลือทารกภายหลังคลอดทันที
1.ศีรษะเกิดจนลำตัวคลอด ควรใช้เวลา 2-3 นาที
2.ขานเวลาเกิด ผูกข้อมือ
3.ประเมินสภาวะแรกเกิดด้วย APGAR score นาทีที่ 1,5,10
วางทารกให้ตะแคงหลังให้ปากช่องคลอด ให้สายสะดือพาดบนลำตัว ดูดมูกที่ปากและจมูก เช็ดตัวเพื่อกระตุ้นทารกร้อง
5.ผูกเชือกชิด vuiva เพื่อดูการเคลื่อนต่ำของสายสะดือ
ใช้ atery clamps ห่างจากตัวทารก 2-3 ซม รีดเลือด 2-3ซม clamp อีกตัว
ทำความสะอาดส่วนที่จะตัดด้วยน้ยาฆ่าเชื้อ และตัด
เช็ดคราบเลือดจากทารก อุ้มให้มารดาดูเพศ หน้า และฺBonding
หน้าที่ของผู้ช่วยคลอด
จัดท่าผู้คลอด
เตรียมอุปกรณ์ทำคลอด
ช่วยเชียร์คลอด
ดูแลความสะดวกสบายทั่วไป
ฟัง FHS ประเมิน uterine contraction
บันทึกเวลาคลอด น้ำหนัก เขียนและผูกป้ายข้อมือ เช็ดตัวทารก
รายงานเมื่อมีความผิดปกติ
วัด BP หลังรกคลอด
นำทารกไปดูดนมมารดา
เช็ดตา ป้ายตา เช็ดสะดือ ฉีดวิตามิน K1 ฉีดวัคไวรัสตับอักเสบบี