Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาองค์กร, มีเจตนาทําลายเครื่องมือ…
เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาองค์กร
เครื่องมือในการพัฒนาองค์กร
MBO (Management by objective)การบริหารที่ยึดวัตถุประสงค์เป็นตัวกําหนด
ความหมาย เป็นการวางแผนเพื่อจดการองค์กรที่หัวหน้าและลูกน้องมีบทบาทร่วมกัน
Peter Drucker เป็นผู้พัฒนาแนวคิด
เป็นสิ่งจําเป็นทุกหน่วยงาน
เป็นตัวกําหนดการปฏิบัติงาน
ควบคุมตนเองและกําหนดทิศทาง
โดยตนเอง
เป็นแรงจูงใจก่อให้เกิดความสําเร็จ
ลักษณะของ MBO
เน้นความสําคัญของการวางแผน
ผู้บริหารทุกระดับมีความรับผิดชอบเรื่องวัตถุประสงค์
การกำหนดวัตถุประสงค์เป็นเรื่องระหว่างผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา
เป็นการดําเนินงานโดยการควบคุมตนเอง
ลําดับขั้นของMBO
กําหนดวัตถุประสงค์ ชัดเจน ระบุระยะเวลา การปฏิบัติ เกณฑ์
ปรับโครงสร้างขององค์การ
กําหนดลักษณะงาน
JD ต้องมีวัตถุประสงค์ ความรับผิดชอบ อํานาจ
กําหนดจุดตรวจสอบ
มีการประชุมระหว่างหัวหน้ากับลูกน้อง
มาตรฐานต้องเหมาะสม เป็นไปได้
การประเมินการปฏิบัติงาน
ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน/ผลที่คาดหวัง
ไม่ประเมินทุกอย่างที่ผู้ปฏิบัติเกี่ยวข้อง เพื่อลดความเครียด
นําผลมาปรับปรุง
ประโยชน์แก่องค์การ
เป็นเครื่องมือในการวางแผน
เป็นวิธีการนําไปสู่การกระจายอํานาจ
กระตุ้นให้เกิดการจูงใจในการทํางาน
เป็นเครื่องมือในการประเมินผล
QCC (Quality control circle)ระบบควบคุมคุณภาพ/กลุ่มคุณภาพ
เพื่อแสวงหาวิธีการที่เหมาะสม
เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
จูงใจให ้ผลิตผลงานอย่างมีคุณภาพ
มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน
ดําเนินการโดยคนกลุ่มน้อย
ผู้บังคับบัญชาระดับต้นเป็นแกนกลาง
ทํากิจกรรมปรับปรุงงานโดยตนเองอย่างอิสระ
ไม่ขัดต่อนโยบายหลัก
คุณลักษณะ QCC ในสากล
คนกลุ่มน้อย
ดําเนินกิจกรรมเพิ่มพูนคุณภาพ
โดยตนเองอย่างอิสระ
สถานที่ทํางานเดียวกัน
ร่วมกันทุกคน
อย่างต่อเนื่อง
ปรับปรุงสถานที่ทํางานให้สะอาด น่าอยู่
ใช้เทคนิควิธีการ QC
พัฒนาตนเองและพัฒนาร่วมกัน
กิจกรรมควบคุมคุณภาพทั้งองค์กรเป็นหนึ่งเดียวกัน
วัตถุประสงค์:QCC
เพิ่มขีดความสามารถของผู้นำ
ทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสร้างขวัญกำลังใจ
เพื่อกิจกรรมคุณภาพทั้งองค์กรเป็นหนึ่งเดียวกัน
หลักการ:QCC โดยใช ้Deming cycle
การวางแผน(Plan:P)
การปฏิบัติ(DO:D)
การตรวจสอบ(Check:C)
การแก้ไขปรับปรุง (Act:A)
เทคนิคในการทํากิจกรรมคุณภาพ
ผังก้างปลา
ใช้ค้นหาสาเหตุของปัญหาและกำหนดวิธีแก้ปญหาอย่างเป็นลำดับ
การระดมปัญญา (Brain storming)
ต้องไม่วิพากษ์วิจารณ์ความความคิดเห็นว่าดีไม่ดี
ความคิดเห็นยิ่งมากยิ่งดี
เสริมหรือสนับสนุนความคิดเห็นของคนอื่น
ต้อนรับความคิดเห็นอย่างเป็นอิสระและเป็นกันเอง
TQM (Total Quality Management)การจัดการคุณภาพโดยรวม
วัฒนธรรมองค์กรที่สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมในการประเมินการปฏิบัติงานและการพัฒนา
เป็นการสร้างโอกาสความได้เปรียบ การแข่งขัน การพัฒนาที่ยั่งยืน
ความสัมพันธ์ของ TQM
ให้ความสำคัญกับลูกค้า
สร้างผลงานที่มีคุณภาพ
พัฒนาอย่างต่อเนื่อง
กล้าตัดสินใจ แก้ไข ปรับปรุง
สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วม
ผู้ปฏิบัติงานทุกครภูมิใจ สนุกกับการทำงาน
ความหมาย TQM
จัดระบบในการทำงาน เพื่อป้องกันการผิดพลาด
เป็นแนวทางการสร้างคุณภาพของผลงาน
คุณภาพงานเป็นความรับผิดชอบของพนักงานทั้งองค์กร
วัตถุประสงค์:TQM
ลดต้นทุน พัฒนาคุณภาพ
สร้างความพอใจ
พัฒนาคุณภาพชีวิตของพนักงาน
ประสทธิภาพและการเจริญเติบโตในอนาคต
เป็นเครื่องมือสำคัญในการสร้างองค์กรการเรียนรู้ (LO)
หลัก :TQM
การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง(Continuous Improvement)โดยใช ้PDCA
การมอบหมายงานแก่พนักงาน (Employee Empowerment)
การกําหนดมาตรฐานเทียบเคียง (Benchmarking)
การจัดส่งสินค้าแบบทันเวลา
Taguchi technique การปรับปรุงผลิตภัณฑ์
ความรู้ในการใช้เครื่องมือ
ปัญหาอุปสรรค
คนขาดความคิดถึงส่วนรวม
ขาดความรับผิดชอบ
องค์กรไม่เปิดโอกาสให้บุคลากรมีสวนร่วม
บุคลากรขาดภาวะผู้นํา
ผู้นําขาดความสามารถในการชี้นํา
ผู้นำขาดความยืดหยุ่น และการติดตามผลต่อเนื่อง
Change Managementการบริหารการเปลี่ยนแปลง
คือการจัดการกับการเปลี่ยนแปลงให้ดีขึ้น
ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลง
ค้นหาว่าทําไมถึงเปลี่ยนแปลง
กําหนดเป้าหมายของการเปลี่ยนแปลง
กําหนดในการมุ่งสู่เป้าหมาย
วางแผนงาน
ประชาสัมพันธ์
ปฏิบัติตามแผน
ติดตามและประเมินผล
ทําไมถึงต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
กลัวสูญเสียอํานาจ
กลัวรับงานเพิ่ม
กลัวเสียหน้า
กลัวจะทํางานใหม่ไม่ได้ดี
การเปลี่ยนแปลงเร็วเกินไป
การเปลี่ยนแปลงข้อมูลไม่ชัดเจน
การเปลี่ยนแปลงไม่สามารถบอกผลลัพธ์ได้
เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน
เปลี่ยนวันนี้้พรุ่งนี้ก็เปลี่ยนอีก
วิธีแก้การต่อต้าน
เตรียมข้อมูลในการเปลี่ยนแปลงให้พร้อม
ให้ผู้ต่อต้านแสดงความคิดเห็น
ทบทวนเหตุผล ชี้แจงข้อเท็จจริง
LO (Learning organization)องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรที่มีทักษะ มีความสามารถในการแสวงหา มีการสร้างสรรค์การถ่ายทอดความรู้ และทําความเข้าใจกับความรู้ใหม่
วินัย 5 ประการ :Peter Senge
Personal Mastery ความเป็นเซียนส่วนบุคคล
Mental Model การยึดติดในใจ
Share vision ฝันเดียวกัน
Team learning การเรียนรู้เป็นทีม
System thinking ระบบการคิดของคนในองค์กร
องค์กรที่ทุกคนทุกระดับพัฒนาขีดความสามารถ
Play and Learn = เพลิน
Knowledge Management (KM)การบริหารจัดการความรู้
เป็นความรู้ความเชี่ยวชาญของบุคลากรในองค์กรนั้น
การดึงบุคลากรที่มีคุณภาพให ้อยู่กับองค์กรนานๆ
เพื่อให้บุคคลากรคนอื่นๆเอาไปใช้ประโยชน์ได้
แบ่งความรู้เป็น 2 ประเภท
1.Tacit Knowledge
ทักษะจากประสบการณ์
Explicit Knowledge
บรรยาย/ถ่ายทอดเป็นทฤษฎี
ปัจจัยแห่งความสําเร็จ
ผู้บริหารต้องเข้าใจ เข้าถึง สนับสนุน
ทีมงานหลายหน่วยงาน มีการถ่ายทอด
มีคนรับผิดชอบชัดเจน
มีการนำ IT มาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทุกคนในองค์การให ้ความสําคัญ
มีการทดลองใช้ ปรับปรุง พัฒนา
สรุป KM
เสพความรู้
ย่อยความรู้
เลือกความรู้ที่มีประโยชน์
มีคุณธรรม
ต่อยอดความรู้
สร้างองค์ความรู้ใหม่ ถ่ายทอด รักษาความรู้ไว้
Public Sector Management Quality Award
(PMQA)การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
กรอบหรือกติกาในการบริหารจัดการและกรอบในการปฏิบัติงานของบุคลากรภาครัฐ
โดยยึดการมีสวนร่วม
บริหารจัดการด้วยข้อมูลจริง
เป็นเครื่องมือในการประเมินผลการปฏิบัติงานของภาครัฐ
ประเมินกระบวนการ
ประเมินผลลัพธ์
ทางออกของข้าราชการที่ไม่สบายใจ
ลาออก
Early
แนวทางการสร้างอาชพใหม่
วัตถุประสงค์ของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
เพือให้องค์กรภาครัฐมีความเข ้าใจ
เป็นการเพิ่มประสทธิภาพและประสิทธิภาพและประสิทธิผล
จุดมุ่งเน้นที่สำคัญ
การนําองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์
มีความรับผิดชอบต่อสังคม
มีความยืดหยุ่น คล่องตัว
พัฒนาคน
ตัดสินใจโดยอาศัยข้อมูลสารสนเทศ
ทํางานโดยมุ่งผลลัพธ์เป็นสําคัญ
Result Based Manangement (RBM)การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์
คือการบริหารโดยมุ่งเน้นผลการปฏิบัติงาน
มีจุดมุ่งหมายในการทํางานดังนี้
ทํางานให้เสร็จตามกําหนด
ใช้ทรัพยากรของทางราชการให้คุ้มค่า
เน้นการทํางานโดยยึดผลลัพธ์เป็นหลัก
Best practice วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
การปฏิบัติเพื่อให้องค์กรสู่การเป็นเลิศ
มีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศอย่างเห็นได้ชัด
Benchmarking
กระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์
จะช่วยประหยัดเวลาและลดการดําเนินงานแบบลองผิดลองถูก
เส้นทางสู่ความเป็นเลิศอย่างก้าวกระโดด
ผลการประเมินองค์กร
ประเมินจากความก้าวหน้าขององค์กร
ผลกําไร การขยายสาขา
การดํารงสถานภาพของผู้บริหาร
การบรรลุผลสําเร็จของงาน
ความพึงพอใจของบุคลากร
ผู้ปฏิบัติงานมีสุขภาพจิตดี
คุณภาพที่ดีของการบริการ
ดัชนีวัดประสิทธิภาพทางอ้อม
การขาดงาน
ขาดความสามัคคี
มีการแบ่งแยกพรรคพวก
ตําหนิผู้บริหาร
ความต้องการโอนย้าย
องค์ประกอบในการสร้างเสริมประสิทธิภาพในการบริหารงาน
ผู้บริหาร
เป็นนักบริหารมืออาชีพ
นักประกอบการ
ภาวะผู้นํา
มีความรู้ทั้งบริหาร บริการ วิชาการ
วิสัยทัศน์
คุณธรรม จริยธรรม
องค์การและระบบงาน
ต้องมีการวางแผนและควบคุมงานที่ดี
จัดระบบงานให้เหมาะสม
การประสานงานที่มีประสิทธิภาพ
พัฒนาสมรรถภาพของคนให้สูงขึ้น
บุคลากรในหน่วยงาน
รู้เป้าหมายในการทํางาน
จัดลําดับความสําคัญของงานได้
มีการพัฒนาตนเอง
ปัจจัยเสริมสร้างการบริหารงานที่มีประสทธิภาพ
แรงจูงใจ
การสร้างขวัญและกําลังใจ
การบริหารความขัดแย้ง
การบริหารเวลา
กระบวนการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ
การสร้างทีมงาน
มีเจตนาทําลายเครื่องมือ เครื่องใช้ในหน่วยงาน