Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การเตรียมและช่วยเหลือ มารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วย…
บทที่ 3 การเตรียมและช่วยเหลือ มารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วย เครื่องมือพิเศษ
Biochemical Assessment
Amniocentesis
การตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดโดยเจาะน้ำคร่ำ เพื่อตรวจโครโมโซม ทารกในครรภ์ที่ผิดปกติ เช่น ตั้งครรภ์อายุตั้งแต่ 35 ปี โรคโลหิตจางธาลัสซี
วิธีการเจาะ
เจาะโดยใช้เข็มขนาดเล็กเจาะผ่านหน้าท้องและผนังมดลูกเข้าสู่ถุงน้ำคร่ำ มาส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ทำเมื่ออายุครรภ์ 16-18 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อน
ปวดเกร็งเล็กน้อยบริเวณท้องน้อย
การติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
กลุ่มเลือด Rh negative มารดาสร้างภูมิต้านทานต่อเม็ดเลือดแดงของทารกในครรภ์ ทำได้โดยการฉีด Anti-D immunoglobulin หลังการตรวจ
คำแนะนำหลังการเจาะ
ควรสังเกต มาพบแพทย์
ปวดเกร็งหน้าท้องมาก
ไข้ภายใน 2 สัปดาห์
มีน้ำหรือเลือดออกทางช่องคลอด
พักหลังจากการเจาะ1 วัน และงดการร่วมเพศ อีก 4-5 วัน
บทบาทของพยาบาล
ดูแลให้ปัสสาวะ เพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
ดูแลจัดท่า วัดความดันโลหิต และฟังเสียงหัวใจของทารก
จัดเตรียมอุปกรณ์ให้สะอาดปราศจากเชื้อ
หลังเจาะให้นอนหงาย กดแผลประมาณ 1 นาที
ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 15 นาที จนครบ 1ชั่วโมง
วัด Vital signs 2 ครั้ง ห่างกัน 15 นาที
Amniotic fluid analysis
ดูความสมบูรณ์ของปอด วิธีที่นิยมทำ 3 วิธี
จากการดูสีของน้ำคร่ำ มีเลือดปน ใสหรือขุ่น มีสีของขี้เทาปนหรือไม่
การตรวจหาค่า L/S ratio
เพื่อดู lung maturity
สัดส่วนของ L/S จะเท่าๆกัน จนกระทั่ง 30 สัปดาห์ หลังจากนั้น sphingomyelin จะเริ่มคงที่ ขณะที่ lecithin จะเพิ่มขึ้น
L / S ratio > 2 แสดงว่าปอดทารกสมบูรณ์เต็มที่ โอกาสเกิด RDS ต่ำ
Shake Test
เป็นการทดสอบความสมบูรณ์ของปอดทารกในครรภ์
วิธีการทำ
1.ใช้หลอด 5 หลอด ใส่น้ำคร่ำจำนวน 1 cc , 0.75 cc , 0.5 cc , 0.25 cc และ 0.2 cc
2.เติม normal saline Solution ในหลอดที่ 2 , 3 , 4 และ 5 ทำให้ ส่วนผสมเป็น 1 cc ทุกหลอด
3.แล้วเติม Ethanol 95 % ทุกหลอด
4.เขย่านาน 15 วินาที ทิ้งไว้นาน 15 นาที
การแปลผล
ถ้าพบว่ามีฟองอากาศเกิดขึ้น 3 หลอดแรกแสดงว่าได้ผลบวก ปอดของทารกเจริญเต็มที่
ถ้าพบฟองอากาศ 2 หลอด แรก ได้ผล intermediate ปอดทารกยังไม่เจริญเต็มที่
ถ้าพบฟองอากาศเพียงหลอดเดียวหรือไม่พบเลย แสดงว่า ได้ผลลบ แสดงว่าการทดสอบปอด ทารกยังเจริญไม่เต็มที่
Alpha fetoprotein (AFP)
เป็นการตรวจเลือดมารดา
ค่า AFP สูงขึ้นหลังจากสัปดาห์ที่ 15
Turner Syndrome
เป็นภาวะผิดปกติทางพันธุกรรมที่พบในเพศหญิง
มีโครโมโซม X เพียงตัวเดียว
มีรูปร่างเตี้ย คอมีพังผืด และปลายแขนกางออก
มีรังไข่ที่ไม่เจริญ ไม่มีประจำเดือน
anencephaly
ภาวะกะโหลกศีรษะไม่ปิด
Spinabifida
ซึ่งมีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลังออกมา
Myelomeningocele
ความผิดปกติใน 2 - 3 สัปดาห์ ของการตั้งครรภ์
ไขสันหลังจึงเกิดได้ไม่สมบูรณ์
ทำให้เกิดอัมพาตของขาแต่กำเนิด
ค่า AFP ต่ำ สัมพันธ์กับ Down’ syndrome
Fetoscopy
laparo amnioscope สอดเข้าไปในถุงน้ำคร่ำโดยผ่านผนังหน้าท้องของหญิงตั้งครรภ์
เพื่อดูความผิดปกติของทารก
ขั้นตอนการทำ
งดน้ำงดอาหารก่อนทำ 6-8 ชั่วโมง
ตรวจสอบ FHS ก่อนและหลังทำ
ใช้ ultrasound เป็นตัวช่วยในการทำ
ต้องตรวจสอบปริมาณน้ำคร่ำหลังทำ
หลังทำงดการทำงานหนัก 1 – 2 สัปดาห์
Biophysical Assessment
Ultrasound
Gestational Sac : GS
ขนาดของถุงการตั้งครรภ์
อายุครรภ์ 5 -7 week ถุงที่หุ้มทารกไว้
Crown-rump lerght : CRL
ความยาวของทารก
อายุครรภ์ 7-14 week ความยาวตั้งแต่ศีรษะถึงส่วนล่างสุดของกระดูกไขสันหลัง
Biparietal diameter : BPD
เส้นผ่าศูนย์กลางของส่วนที่ยาวที่สุดของศีรษะของทารก
การคำนวณจะแม่นยำสุด คือ ช่วง 14 - 26 สัปดาห์
Femur length : FL
ความยาวของกระดูกต้นขา
ควรวัดก่อนอายุครรภ์ 24 สัปดาห์
Abdominal circumference : Ac
เส้นรอบท้อง
วัดยาก ไม่ค่อยนิยม
Fetal Biophysical profile: (BPP)
4 ตัวแปร (การหายใจ, การเคลื่อนไหว, แรงตึงตัวของกล้ามเนื้อ , การเต้นของหัวใจทารก) ร่วมกับ การวัดปริมาณน้ำคร่ำอีก 1 ตัวแปร
วิธีการตรวจ
หญิงตั้งครรภ์ในท่านอน Semi-fowler ตะแคงซ้ายเล็กน้อย
ใช้ Ultrasound ตรวจวัดข้อมูล 5 ตัวแปรที่ต้องการ
กำหนดค่าคะแนนของแต่ละข้อมูล ข้อละ 2 คะแนน
เมื่อพบว่าปกติให้ 2 คะแนน และให้ 0 คะแนนเมื่อพบว่าผิดปกติ
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
เกณฑ์ปกติ คะแนน = 2 สังเกตนาน 30 นาที
การหายใจของทารกในครรภ์ : หายใจต่อเนื่องอย่างน้อย 20 วินาที อย่างน้อย 1 ครั้ง
การเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์ : ขยับตัวหรือเคลื่อนไหวแขนขาอย่างน้อย 2 ครั้ง
แรงตึงตัวของกล้ามเนื้อ : เหยียดตัว กางแขนขาและหดกลับอย่างรวดเร็ว หรือกำและคลายมืออย่างน้อย 1 ครั้ง
การเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ NST ได้ผลปกติ
ปริมาณน้ำคร่ำ : ตรวจพบโพรงน้ำคร่ำอย่างน้อย 1 แห่ง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางอย่างน้อย 2 cm.
การแปลผล
คะแนน 8-10 คะแนน
ปกติ ไม่มีภาวะเสี่ยงควรตรวจซ้ำใน 1 สัปดาห์
คะแนน 6 คะแนน
มีภาวะเสี่ยงต่อการขาดภาวะออกซิเจนเรื้อรังของทารก ควรตรวจซ้ำใน 4-6 ชั่วโมง
คะแนน 4 คะแนน
มีภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
คะแนน 0-2 คะแนน
มีภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรังอย่างรุนแรง ควรให้มีการคลอดโดยเร็ว
วิธีนับลูกดิ้น
การนับการดิ้นของทารกในครรภ์ให้ครบ 10 ครั้ง ในช่วงเวลา 2 ชั่วโมงต่อกัน
ให้คำแนะนำ
การนับลูกดิ้น 3 เวลาหลังมื้ออาหาร ครั้งละ 1 ชั่วโมง
ถ้าน้อยกว่า 10 ครั้ง ถือว่าผิดปกติ ทารกมีความเสี่ยงที่จะเสียชีวิตในครรภ์
การที่ลูกดิ้นน้อยลง
ทารกอยู่ในภาวะอันตราย มีความเสี่ยงที่จะเสียชีวิต