Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การเตรียมและช่วยเหลือมราดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ …
บทที่ 3 การเตรียมและช่วยเหลือมราดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ
Biodhemical Assessment(การตรวจทางชีวเคมี)
Amniotic fluid analysis (ดูความสมบูรณ์ของปอด)
ดูสีของน้ำคร่ำ มีเลือดปนใสหรือขุ่น สีของขี้เทาปนหรือไม่
การตรวจหา L/S ratio
ตรวจหาอัตราส่วนระหว่าง สารLacithin ต่อสาร Sphingomyelinในน้ำคร่ำของทารก
L/S ratio มากกว่า 2แสดงว่าปอดของทารกสมบูรณ์เต็มที่
Shake Test
การทดสอบความสมบูรณ์ของปอดทารกในครรภ์ โดยใช้หลักของความสามารถในการคงสภาพของฟองอากาศของสาร Surfactant
ถ้าฟองอากาศขึ้น 3 หลอด ได้ผลบวกแสดงว่า ปอดทารกเจริญเต็มที่
ถ้าพบฟองอากาศ 2 หลอด ปอดทารกยังเจริญไม่เต็มที่
ถ้าพบหลอดเดียว หรือไม่พบเลย พบ ปอดทารกยังเจริญไม่เต็มที่
Alpha fetopotein(AFP)
ค่าโปรตีนที่สีร้างมาจากรก ใช้ค่านี้ในการตรวจสอบความผิดปกติของรก และเนื้อเยื่อที่เกี่ยวข้องกับรก ตรวจช่วงอายุครรภ์ 16-18 สัปดาห์
ค่าปกติ 2.0-2.5 MOM
ค่า AFP ต่้ำ บ่งบอกถึงความผิดปกติของ Down's Syndrome
Amniocentesis (การเจาะน้ำคร่ำ)
ตรวจโครโมโซมทารกในครรภ์ที่ผิดปกติ ทำเมื่ออายุครรภ์ 16-18 สัปดาห์
ทำโดยวิธีปราศจากเชื้อ ใช้เข็มขนาดเล็กเจาะผ่านหน้าท้อง และผนังมดลูกเข้าสู่ถุงน้ำคร่ำ และส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ภาวะแทรกซ้อน
ปวดเกร็งบริเวณท้องน้อย มีเลือดหรือน้ำคร่ำออกทางช่องคลอด โอกาสแท้ง ทารกตาย หรือเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
การติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ การติดเชื้อในกระแสเลือดขั้นรุนแรง
กลุ่มเลือด Rh negative มารดาสร้างภูมิต้านทานต่อเม็ดเลือดแดงของทารกในครรภ์ ฉีด Anti-D immunoglobulin หลังการตรวจ
คำแนะนำหลังการเจาะ
สังเกตและมาพบแพทย์หากมีอาการ ปวดเกร็งหน้าท้องมาก ไข้ภายใน 2 สัปดาห์ มีน้ำหรือเลือดออกทางช่องคลอด
พักหลังการเจาะ 1 วัน และควรงดออกแรงมาก ,งดร่วมเพศ 4-5 วัน, ไม่ควรเดินทางไกลภายใน 7 วัน หลังเจาะ
การพยาบาล
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
จัดท่า วัดความดัน ฟัง FHS
จัดเตรียมอุปกรณ์ปราศจากเชื้อ
หลังเจาะให้นอนหงาย กดแผล 1 นาที และปิดด้วยพลาสเตอร์
ฟัง FHS ทุก 15 นาทีจนครบ 1 ชั่วโมง
V/S 2 ครั้ง ห่างกัน 15 นาที
Fetoscopy
การส่องกล้องดูทารกใรครรภ์
ขั้นตอนการทำ
NPO 6-8 ชั่วโมง
ตรวจสอบ FHS ก่อนและหลังทำ
ใช้ Ultrasound ช่วยในการทำ
ตรวจสอบปริมาณน้ำคร่ำหลังทำ
งดทำงานหนัก 1-2 สัปดาห์
Chorinic villous sampling
ดูดเอาตัวอย่างของรกเด็กมาตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซม เช่น Down's syndrome
ทำช่วง 10-13 wks.
Cordocentesis
การเจาะดูดเลือดจากหลอดเลือดสายสะดิอ ทำในช่วง 18 wks.
Biophysical Assessment (การตรวจทางชีวภาพ)
Ultrasound
ดูจำนวนและการมีชีวิตของทารก
ดูลักษณะและตำหน่งของรก
ปริมาณน้ำคร่ำ
ประเมินอายุครรภ์และการเจริญเติบโตของทารก
Fetal Biophysical profile (BPP)
ใช้คลื่นเสียงความถี่สูงตรวจวัดการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่างๆของทารก
4 ตัวแปร การหายใจ การเคลื่อนไหว แรงตึงตัวของกล้ามเนื้อ การเต้นของหัวใจทารก
เกณฑ์ปกติ =2 สังเกตนาน 30นาที
การหายใจของทารกในครรภ์ หายใจอย่างน้อย 1 นาน 30 วินาที
การเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์ ขยับอย่างน้อย 2 ครั้ง ใน 10 วินาที
แรงตึงตัวกล้ามเนื้อ เหยียดตัว กางเเขนขา และหดกลับ อย่างน้อย 1 ครั้ง ใน 30 วินาที
การเต้นของหัวใจทารก เพิ่มขึ้นไม่มากกว่า 15 ครั้ง/นาที
ปริมาณน้ำคร่ำ พบโพรงน้ำคร่ำอย่างน้อย 1 แห่ง เส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า 1 ซม.
การแปลผล
8-10 คะแนน ปกติ ควรตรวจซ้ำใน 1 wk.
ุ6 คะแนน มีภาวะเสี่ยงต่อการขาดออกซิเจนเรื้อรังของทารก ตรวจซ้ำใน 4-6 ชม.
4 คะแนน มีภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
0-2 คะแนน มีภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรังอย่างรุนแรง มีการคลอดโดยเร็ว
วิธีนับลูกดิ้น
Count to ten นับการดิ้นของทารกให้ครบ 10 ครั้ง ในช่วงเวลา 2 ชม.ติดต่อกันในท่านอนตะแคง ถ้าดิ้นไม่ถึง 10 ครั้งแสดงว่า ผิดปกติ
Cardiff count to ten oนับจำนวนเด็กดิ้นจนครบ 10 ครั้งในเวลา 4 ชม.
Daily fetal movement record (DFMR) การนับลูกดิ้น 3เวลาหลังมื้ออาหาร ครั้งละ 1 ชม. ถ้าน้อยกว่า 3 ครั้ง/ชม. แปลผลว่าผิดปกติ
Electronic fetal monitoring(การาตรวจโดยใช้เครื่องมือทางอิเล็คโทรนิค)
อัตราการเต้นของหัวใจทารก ปกติ 120-160 ครั้ง/นาที
Variability คืออัตราการเต้นของหัวใจทารกที่มีการเปลี่ยนแปลง
Periodic Chang
acceleration การเพิ่มขึ้นของ FHS
deceleration
Earlt deceleration การลดลงของ FHR สัมพันธุ์กับการหดรัดตัวของมดลูก พบได้ตอนท้ายของการเจ็บครรภ์คลอด
Late deceleration การลดลงของ FHR ไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก ถือว่าผิดปกติ เกิดจากทารก hypoxia
Variable deceleration การลดลงของ FHR อาจจะสัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูกหรือไม่ก็ได้ ไม่นานเกิน 2 นาที เกิดจากสายสะดือถูกกด
Polonge deceleration การลดลงของ FHR นานอย่างน้อย 2 นาที แต่ไม่ถึง 10 นาที ควรตรวจสอบการพลัดต่ำของสายสะดือ
แนวทางการดูแลรักษา
จัดท่านอนตะแคงซ้าย
ให้O2 8-10 ลิตร/นาที
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
Non-Stress Test ทำมนเคสที่มีความเสี่ยงต่อทารกพร่องออกซิเจน อายุครรภ์ 32 wks.ขึ้นไป
Contraction Stress test ทดสอบการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ขณะมดลูกหดรัดตัว