Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มอาการที่มีปัญหาด้านศัลยกรรม, 1 เอา_3 - Coggle Diagram
กลุ่มอาการที่มีปัญหาด้านศัลยกรรม
Shock
:<3:
ความหมาย
:star:
ภาวะที่ร่างกาย หรือเนื้อเยื่อต่างๆได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอทำให้เกิดความไม่สมดุลระหว่างความ ต้องการ และปริมาณออกซิเจนที่เลือดนำไปเลี้ยงเนื้อเยื่อ
อาการ
มีอาการช็อกรุนแรงม่านตาจะไม่ค่อยตอบสนองต่อแสง
กระสับกระส่าย ชิพจรเบาเร็ว ซีด เหงื่อออก ตัวเย็น กระหายน้ำ อ่อนเพลีย อาเจียน จะเป็นลม ปัสสาวะออกน้อยหรือไม่ออกเลย หายใจเร็วถี่ขึ้น ไม่สม่ำเสมอ หมดสติ
ระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลว เช่น BP < 90/60 มม.ปรอท Pulse pressure ≤ 20 มม.ปรอท mean arterial pressure < 60 มม.ปรอท
ปัสสาวะออกน้อยหรือไม่ออกเลย หายใจเร็วถี่ขึ้น ไม่สม่ำเสมอ หมดสติ
การรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ
7.แก้สาเหตุของการช็อก เช่น ถ้าเสียเลือดจากบาดแผลทำการห้ามเลือด
8.ส่งต่อไปสถานบริการที่มีความพร้อม
6.ใส่สายสวนปัสสาวะค้างไว้เพื่อดูปริมาณปัสสาวะ
5.ให้งดน้ำและอาหารทางปาก
4.ให้สารน้ำทดแทนทางหลอดเลือดดำ เพื่อรักษาสัญญาณชีพควรให้สารน้ำที่มีความเข้มข้นใกล้เคียงกับเลือด (isotonic solution) เช่น NSS, Lactated Ringer’s solution ไม่ควรให้สารน้ำที่มีความเข้มข้นน้อยกว่าเลือด เช่น 5% D/W
3.ให้ออกซิเจนและให้ความมอบอุ่นแก่ร่างกาย
2.ให้นอนราบยกขาสูงขึ้น 10-20 นิ้ว เพื่อเพิ่มการไหลเวียนของเลือดจากส่วนปลายกลับสู่หัวใจ และเพิ่มเลือดไปเลี้ยงสมอง
1.ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ประเภท
Hypovolemic
เนื่องจากของเหลวในร่างกายไม่เพียงพอ =ปริมาณของเหลวต่ำ
การรักษา
ควบคุมการเสียเลือดภายนอกอย่างรุนแรง
ยกส่วนล่างให้สูง, หลีกเลี่ยงท่านอนลาดเอียง (Trendelenburg)
สายน้ำเกลือขนาดใหญ่สองสาย
ให้ของเหลวสารละลาย Lactated Ringer’s
เพิ่มความเข้มข้นความดันโลหิต เป็น 90-100 มล. ปรอท
สาเหตุ
ปัสสาวะมาก, ท้องร่วง
หลอดเลือดรั่ว, เสียเลือด
การเผาไหม้
อาเจียน, เหงื่อออก
Cardiogenic
เกิดจากหัวใจ = สูบฉีดโลหิตไม่ได้
สาเหตุ
M I, CHF, Bradyarrhythmias, Tachyarrhythmias
Cardiac tamponade, Tension pneumothorax
การรักษา
นอนหงาย, หรือ ศีรษะและไหล่ยกขึ้นสูงเล็กน้อย
เปิดทางเดินหายใจและรักษาทางเดินหายใจให้เปิดตลอดเวลา
การช็อกเนื่องจากมีการอุดตัน
ให้ของเหลว Isotonic
สอดท่อช่วย
Mixed Shock
ภาวะช็อกที่เกิดขึ้นจากการติดเชื้ออย่างรุนแรงทั่วร่างกาย (Septic Shock)
มีไข้
ต้องการออกซิเจนมากขึ้
มีการเผาผลาญอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน
มากขึ้น
พิษจากแบคทีเรีย
ทำาให้เนื้อเยื่อเผาผลาญอาหารน้อยลง
เกิดการตอบสนองต่อการอักเสบ
ช็อกเนื่องจากปฏิกิริยาภูมิแพ้อย่างรุนแรง
(Anaphylactic Shock)
มีการหดเกร็งของกล้ามเนื้อเรียบภายนอกหลอ
ดเลือด
ช่องกล่องเสียงหดเกร็ง (Laryngospasm)
หลอดลมหดเกร็ง (Bronchospasm)
มีฮิสตามีนออกมามาก
รักษา
ยาแก้แพ้(Antihistamines)
Epinephrine หลอดลมตีบ & หลอดเลือดขยาย
Vasogenic
ภาวะช็อกจากหลอดเลือด = มีแรงต้านต่ำ
สาเหตุ
หลอดเลือดขยายมากขึ้นหรือมีรูมากขึ้น
ใช้ยาที่มีฤทธิ์ต่อประสาท
การบาดเจ็บที่ไขสันหลัง
รักษา
ให้ผู้ป่วยนอนหงาย ยกส่วนล่างขึ้นสูง หลีกเลี่ยงท่านอนลาดเอียง
ให้ของเหลว Isotonic ที่มีสารสามารถซึมผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ (Crystalloid)
รักษาระดับอุณหภูมิร่างกายให้คงที
การแพ้อย่างรุนแรง ( Anaphylaxis )
ความหมาย
ภาวะที่เกิดขึ้นฉับพลัน และเป็นอันตรายต่อชีวิต เกิดจากปฏิกริยาภูมิคุ้มกันของร่างกายที่มีต่อสิ่งแปลกปลอม ซึ่งเคยเข้าไปกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายที่มีต่อสิ่งแปลกปลอม ซึ่งเคยเข้าไปกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายมาก่อนแล้ว ( sensitized ) โดยอาจมีอาการเฉพาะที่ ( local ) หรือมีอาการทุกระบบ (systemic) ก็ได้ ตน
อาการ
ไอจาม คัดจมูก น้ำมูกไหล น้ำตาไหล เสียงแหบ
ใจสั่น หายใจไม่อิ่ม อ่อนเพลีย เป็นลม
การรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
ช็อก เป็นลม หมดสติ เสียชีวิต
ผื่นคันตามร่างกาย หน้าแดง ตัวแดง
รักษา
ให้ adrenaline 1:1000 ขนาด 0.30 - 0.5 ml IM, IV ในเด็กให้ 0.01 ml / kg / dose
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำโดยใช้ isotonic solution เพื่อรักษาภาวะความดันโลหิตต่ำลงหรือช็อก และเป็นการเปิดเส้นเลือดไว้สำหรับฉีดยา
ให้ยาแก้แพ้
ถ้ามีอาการ bronchospasm หรือ laryngeal edema ให้ยาพ่นขยายหลอดลม
Burn
:<3:
ความหมาย
ผิวหนัง หรือเนื้อเยื่อที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีรวิทยาจากการถูกเผาไหม้ หรือการได้รับ ความร้อนจากเปลวไฟ กระแสไฟฟ้า รังสี สารเคมี
ปัจจัยความรุนแรง
ขนาดของแผลใช้กฎเลขเก้า (rules of nine) ในผู้ใหญ่ หรือวิธีของ Lund and Browder ในเด็ก
ความลึกของบาดแผล
ระดับที่ 3 (ไหม้ผิวหนังทุกชั้น)
มีเลือดไหลซึมจากเส้นเลือดที่เสียหาย
ไม่เจ็บปวด จำเป็นต้องตัดเนื้อเยื่อส่วนอื่นมาแปะ
ไหม้จนถึงโครงสร้างที่อยู่ข้างใต้ ผิวหนังเกาะตัวเป็นชั้นหนาและแห้งคล้ายหนังสัตว์ สีเทาขาวคล้ายมุกหรือเป็นสีดำเหมือนถ่าน
ระดับที่ 2 (ชั้นผิวบางส่วน)
ผิวหนังชื้นและเป็นมัน เจ็บปวดมาก เกิดตุ่มพุพอง
หายเป็นปกติภายในประมาณ 7-21 วัน
การไหม้ไปยังชั้นหนังแท้ สีชมพู(เข้ม)
ระดับที่ 1 (ระดับพื้นผิว)
เฉพาะชั้นหนังกำพร้าเท่านั้น ผิวหนังเป็นสีแดง
เจ็บปวด กดเจ็บ บวมแต่ไม่มีตุ่มพุพอง
หายเป็นปกติภายในประมาณ 7 วัน
การรักษา
หยุดยั้งการเผาไหม
นำตัวผู้บาดเจ็บออกจากแหล่งที่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บ
ถอดเสื้อผ้าออก ยกเว้นกรณีเสื้อผ้าติดอยู่กับบาดแผล
ประเมินการหายใจ
ให้ออกซิเจน
เป็นแผลไหม้ระดับปานกลางหรือรุนแรง
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
การไหม้ในพื้นที่ปิด
สูดดมก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์หรือควัน
ประเมินการไหลเวียนโลหิต
หาอาการแสดงและอาการของอาการช็อค
บาดแผลไหม้
ห้ามทำให้ตุ่มพุพองแตก
คลุมด้วยผ้าแห้งและสะอาด
ห้ามใช้สารที่มีความเหนียว เนย หรือน้ำมันทา
แบ่งกลุ่มความรุนแรง
การไหม้รุนแรง
การไหม้ระดับที่ 2 > 25% ของพื้นผิวร่ำงกำย (20% ในเด็ก)
การไหม้ระดับที่ 3 >10% ของพื้นผิวร่างกาย
การไหม้ระดับปานกลาง
การไหม้ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่ 15 ถึง 25% (10 ถึง 20% ในเด็ก)
การไหม้ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่ 2 ถึง 10%
การไหม้เพียงเล็กน้อย
การไหม้ระดับที่ 3 <2%
การไหม้ระดับที่ 2 <15% (<10% ในเด็ก)
การตรวจร่างกาย
ประเมินบริเวณที่ไหม้และบริเวณที่ไม่ไหม้อย่างรวดเร็ว
นำสิ่งที่มีลักษณะเป็นสายรัดต่างๆ ออก
ตรวจหาอาการบาดเจ็บอื่น ๆ