Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ -…
กฎหมายสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พศ2523
พศ2558
เพือประโยชน์ในการปองกันและควบคุมโรคติดต่อ
ชือและอาการสําคัญของโรคติดต่ออันตราย
ช่องทางเข้าออกให้เปนด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
ให้เจ้าของยานพาหนะแจ้งวันเวลาทีจะเข้ามาถึงด่านแก่เจ้าหน้าที
ให้เจ้าของพาหนะทีเข้ามาในราชอาณาจักรยืนเอกสารต่อเจ้าพนักงาน
ห้ามผู้ใดเข้าหรือออกจากยานพาหนะทียังไม่ได้รับการตรวจ
เข้าไปในพาหนะและตรวจผู้เดินทาง สิงของหรือสัตว์
ห้ามเจ้าของพาหนะนําผู้เดินทางทียังไม่ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกั นเข้ามาในราชอาณาจักร
เหตุผลในการประกาศใช้
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พศ2523ได้ใช้มาเปนเวลานานแล้ว
บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ปจจุบัน
คําจํากัดความ
โรคติดต่อ
โรคทีเกิดจากเชือโรคแพร่โดยทางตรงหรือทางอ้อม
โรคติดต่ออันตราย
โรคติดต่อทีมีความรุนแรงแพร่สู่ผู้อืนได้
โรคติดต่อทีต้องเฝ้าระวัง
โรคติดต่อทีต้องติดตามข้อมูลอย่างต่อเนือง
โรคระบาด
โรคติดต่ออาจแพร่ไปสู่ผู้อืนอย่างรวดเร็ว และกว้างขวาง
พาหะ
คนหรือสัตว์ ไม่มีอาการอาจติดต่อผู้อืนได้
ผู้สัมผัสโรค
คนซึงใกล้ชิดคน สัตว์ สิงของติดโรค
ระยะติดต่อของโรค
ระยะทีเชือโรคสามารถแพร่ไปสู่ผู้อืนทังทางตรงหรือทางอ้อม
แยกกัก
การแยกผู้สัมผัสโรคไว้ต่างหาก
กักกัน
การควบคุมผู้สัมผัสโรคอยู่ในทีเอกเทศ
คุมไว้สังเกต
การควบคุมดูแลผู้สัมผัสโรคโดยไม่กักกัน
ระยะฟักตัวของโรค
ระยะเวลาตังแต่เชือโรคเข้าสู่ร่างกายจนแสดงอาการ
เขตติดโรค
ท้องทีทีมีโรคอันตราย
การสอบสวนโรค
กระบวนการเพือหาสาเหตุ
การเฝ้าระวัง
การสังเกต เก็บรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล
พาหนะ
ยานพาหนะ ใช้ในการขนส่ง
เจ้าของพาหนะ
ผู้เช่า ผู้ครอบครอง ยานพาหนะ
ผู้ควบคุมพาหนะ
ผู้รับผิดชอบในการควบคุมพาหนะ
การแจ้งความ
เจ้าบ้านต้องแจ้งชือทีอยู่ ความสัมพันธ์กับผู้ป่วย ข้อมมูลผู้ป่วย วันเริ่มป่วย อาการ
แพทย์ผู้ทําการรักษา แจ้งชือทีอยู่ทีทํางาน ข้อมูลผู้ปวย วันเริมปวย อาการ การวินิจฉัย
ผู้ทําการชันสูตร แจ้งทีอยู่ทีทํางานตน ข้อมูลผู้ส่งวัสดุตัวอย่าง ผลชันสูตร
ผู้แจ้งความโรคติดต่อ
ผู้อํานวยการกองควบคัมโรคติดต่อ
หัวหน้าฝ่ายสาธารณสุขเมืองพัทยา
ผู้ว่าราชการจังหวัด
นายอําเภอ
นายกเทศมนตรี
กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน
เจ้าพนักงานสาธารณสุข พนักงานเจ้าหน้าที่
เกณฑ์ป้องกันควบคุมระหว่างประเทศ
กําหนดให้ช่องทางและด่านตรวจคนเข้าเมืองควบคุมโรค
หากมีโรคติดต่ออันตรายเกิดขึ้นประกาศเป็นเขตติดโรค
ค่าใช้จ่ายต่างๆต้องปฏิบัติตามคําสังเจ้าพนักงานสารณสุข
โทษ
บุคคลใดไม่แจ้งต่อเจ้าพนักงานสาธารณสุขเมื่อมีโรคติดต่อ ปรับไม่เกิน 2000 บาท
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามประกาศ จําคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน10000 บาท หรือทั้งจําทังปรับ
เจ้าของยานพาหนะไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของเจ้าพนักงานสาธารณสุข จําคุกไม่เกิน 1 ปรับไม่เกิน 50000 บาท หรือทังจําทังปรับ
ผู้ประกอบวิชาชีพอาจมีบทบาท
ผู้แจ้งความโรคติดต่อเมือ่พบหรือสงสัยผู้ป่วย
ผู้ควบคุมการระบาดของโรค
การแจ้งความโรคติดต่อ มาตรา 7
ในกรณีทีมีโรคติดต่ออันตราย
กรณีทีมีการเจ็บป่วยหรือสงสัยป่วยด้วยโรคติดต่อเกิดขึ้นในบ้าน
กรณีที่มีการป่วยหรือสงสัยป่วยด้วยโรคติดต่อเกิดขึ้นในสถานพยาบาล
กรณีมีการตรวจพบเชื้อโรคติดต่อ
คําจํากัดความ
รัฐมนตรี
ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
พนักงานเจ้าหน้าที่
รัฐมนตรีแต่งตังให้ปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี
เจ้าพนักงานสาธารณสุข
เจ้าพนักงานซึ่งได้รับแต่งตังรับผิดชอบในการสาธารณสุขทั่วไป
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การกระทําให้เกิดอํานาจต้านทานโรค
ที่เอกเทศ
ที่ใดๆซึ่งเจ้าพนักงานสาธารณสุขกําหนดให้เป็นทีแยกกัก
ผู้เดินทาง
คนซึ่งเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร
เจ้าของพาหนะ
ผู้รับผิดชอบในการควบคุมพาหนะ
พาหนะ
ยาน สัตว์หรือวัตถุ ใช้ในการขนส่ง
พาหะ
คนหรือสัตว์ ซึ่งไม่มีอาการแต่ร่างกายมีเชื้อโรคติดต่อผู้อื่นได้
เขตติดโรค
ท้องที่มีโรคติดต่อเกิดขึ้น
คุมไว้สังเกตุ
การควบคุมดูแลผู้สัมผัสหรือพาหะโดยไม่กักกัน
กักกัน
การแยกผู้สัมผัสโรคจนกว่าจะพ้นความเป็นพาหะ
แยกกัก
การแยกผู้สัมผัสโรคหรือพาหะ จนกว่าจะพ้นระยะติดต่อ
ระยะติดต่อของโรค
เชื้อโรคสามารถแพร่ไปยังผู้อื่นได้
ระยะฟักตัวของโรค
ระยะตั้งแต่เชื้อเข้าสู่ร่างกายจนแสดงอาการป่วย
โรคติดต่อต้องแจ้งความ
โรคติดต่อซึงรัฐมนตรีประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาให้เป็นโรคติดต่อต้องแจ้งความ
โรคติดต่อ
โรคซึงรัฐมนตรีประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษา
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พศ2545
บริการสาธารณสุข
บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข
สถานบริการ
สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ เอกชน และสภากาชาดไทย
หน่วยบริการ
สถานบริการทีได้ขึนทะเบียนตามพระราชบัญญัติ
เครือข่ายหน่วยบริการ
หน่วยบริการทีรวมตัวกันและขึนทะเบียน
ค่าบริการ
เงินทีผู้รับบริการจ่ายให้หน่วยบริการ
ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข
ค่าใช้จ่ายทีเกิดขึ้นจากการให้บริการ
สิทธิการรับบริการสาธารณสุข
มาตรา 5 บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขทีมีมาตรฐาน
มาตรา 6 บุคคลใดประสงค์จะใช้สิทธิมาตรา 5 ให้ยืนคําขอลงทะเบียนต่อหน่วยงาน
มาตรา 38 ได้จัดตังกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพือส่งเสริมการเข้าถึงบริการสาธารณสุข
มาตรา 42 กรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหาย สํานักงานจ่ายเงินช่วยเหลือเบืองต้นแล้ว สํานักงานมีสิทธิไล่เบียเอาแก่ผู้กระทําผิดได้
มาตรา 60 กรณีกระทําผิดของหน่วยบริการตามมาตรา58 หรือ 59 พิจารณาดําเนินการ
สังเพิกถอนการขึ้นทะเบียน
แจ้งต่อรัฐมนตรีผู้รักษาการตามกฎหมาย
แจ้งต่อรัฐมนตรีผู้กํากับดูแล
แจ้งต่อหน่วยงานทีเกียวข้อง
พศ. 2550
สุขภาพ
ภาวะของมนุษย์ทีสมบูรณ์ทางกาย จิต ปญญา สังคม
ปัญญา
ความรู้ทั่ว รู้เท่าทัน ควมเข้าใจ แยกได้ในเหตุผล
ระบบสุขภาพ
ระบบความสัมพันธ์เกียวข้องกับสุขภาพ
บริการสาธารณสุข
บริการต่างๆเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค
บุคลากรด้านสาธารณสุข
ผู้ให้บริการสาธารณสุขที่มีกฎหมายรองรับ
ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข
ผู้ประกอบวิชาชีพตามกฎหมาย
สมัชชาสุขภาพ
ให้ประชาชนและหน่วยงานของรัฐร่วมแลกเปลียนองค์ความรู้
สิทธิและหน้าทีด้านสุขภาพ
มาตรา 5 บุคคลมีสิทธิในการดํารงชีวิตในสิงแวดล้อมทีเอือต่อสุขภาพ
มาตรา 6 บุคคลใดประสงค์จะใช้สิทธิมาตรา 5 ให้ยืนคําขอลงทะเบียนต่อหน่วยงาน
มาตรา 38 ได้จัดตังกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพือส่งเสริมการเข้าถึงบริการสาธารณสุข
มาตรา 42 กรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหาย สํานักงานจ่ายเงินช่วยเหลือเบืองต้นแล้ว สํานักงานมีสิทธิไล่เบียเอาแก่ผู้กระทําผิดได้
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ
ปรัชญาและแนวคิดระบบสุขภาพ
คุณลักษณะและเป้าหมายของระบบสุขภาพ
การจัดให้มีหลักประกันและความคุ้มครองให้เกิดสุขภาพ
การสร้างเสริมสุขภาพ
การป้องกันและควบคุมโรค
การบริการสาธารณสุขและควบคุมคุณภาพ
การส่งเสริมสนับสนุน การแพทย์ทางเลือก
การสร้างและเผยแพร่องค์ความรู้
การเผยแพร่ข้อมูลสุขภาพ
การผลิตและพัฒนาบุคลากรสาธารณสุข
การคุ้มครองผู้บริโภค
การเงินการคลังด้านสุขภาพ
ข้อจํากัดและเงื่อนไขในการรับมอบหมายให้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
1.ผู้ทีกระทรวง ทบวง กรม อบจ เทศบาล อบตหรือสภากาชาดไทย มอบหมาย
2.บุคคลได้รับมอบหมาย
ต้องอยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าทีซึงเปนผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมองเปนการปฏิบัติราชการ หรืออยู่ในสถานพยาบาลเท่านัน
3.บุคคลทีสามารถประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้
เจ้าพนักงานสาธารณสุข
ผู้สําเร็จประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์
พยาบาลและผดุงครรภ์ ชันหนึง ชันสอง
ด้านอายุกรรม
เพือบรรเทาอาการของโรค
ปวดศีรษะ ปวดหลัง ปวดเอว
ไข้ ตัวร้อน
การรักษาพยาบาลอืนๆ
ให้นาเกลือ
การฉีดเซรุ่ม
สวนปสสาวะ
ด้านศัลยกรรม
ผ่าฝี
เย็บแผล
ทําแผล
สูตินรีเวชกรรม
เย็บแผล
ทําแผล ผ่าเอาสิงแปลกปลอมออก
ทําคลอดในรายปกติ ช่วยเหลือกรณีจะมีการทําแท้งหรือหลังแท้ง การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน วางแผนครอบครัว
ช่วยเหลือขันต้นรายทีผิดปกติ
เจาะโลหิต ปฐมพยาบาลการได้รับสารพิษ สัตว์กัด ต่อย
4.พยาบาลและผดุงครรภ์ชั้นหนึ่งวางแผนครอบครัวใส่และถอดห่วงอนามัยได้
5.ประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาลและจิตเวชประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้
6.ผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง ผ่านการอบรม การใส่และถอดห่วงอนามัย ประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้
7.พยาบาลหรือพยาบาลผดุงครรภ์ผ่านการอบรมการผ่าตัดทําหมันหลังคลอด
8.พยาบาลได้อบรมหลักสูตรวิสัญญีพยาบาล
9.ผู้ทีผ่านหลักสูตรวิทยาศาสตร์การแพทย์
10.ผ่านการอบรมผดุงครรภ์โบราณของกระทรวงสาธารณสุข
11.อสมทีผ่านการอบรม
ให้การพยาบาลเบืองต้น
การปฐมพยาบาลแผลสด กระดูกหัก ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
เจาะโลหิตเพื่อตรวจไข้จับสัน การใช้ยา
12.อาสาสมัครของสมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทย
13.บุคคลที่ทําการประกอบวิชาชีพ ใช้ยาตามบัญชียา
พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พศ 2541
คําจํากัดความ
มาตรา 4 สถานพยาบาล
คือสถานที่รวมถึงยานพาหนะซึ่งจัดไว้เพือการประกอบโรคศิลปะตามกฎหมาย
ผู้ปวย
ผู้ขอรับบริการในสถานพยาบาล
ผู้รับอนุญาต
ผู้ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล
ผู้ดําเนินการ
ผู้ได้รับใบอนุญาตให้ดําเนินการสถานพยาบาล
ผู้ประกอบวิชาชีพ
ผู้ประกอบโรคศิลปะวิชาชีพเวชกรรมการพยาบาล การผดุงครรภ์ ทันตกรรม เภสัชกรรม
การควบคุมสถานพยาบาลเพื่อต้องการควบคุมสถานที่ทําการตรวจรักษาโรคให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
สถานพยาบาล
แบ่งเป็น 2 ประเภท
สถานพยาบาลประเภทไม่รับผู้ปวยไว้ค้างคืน เช่น คลินิก
สถานพยาบาลประเภทรับผู้ปวยไว้ค้างคืน เช่น โรงพยาบาล
การขออนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
ต้องได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการสถานพยาบาล
คุณสมบัติผู้ขอใบอนุญาต
มีอายุไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์
มีถินที่อยู่ในประเทศไทย ไม่เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษา
ไม่เป็นโรคทีรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต คนไร้ความสามารถไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
หน้าที่ของผู้รับอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
ต้องแสดงใบอนุญาตของตนไว้ในที่เปิดเผยและเห็นได้ง่าย
ต้องแสดงรายละเอียดไว้ในทีเปิดเผย
ชื่อสถานพยาบาล
รายการเกียวกับผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
อัตราค่ารักษาพยาบาลและค่าบริการ
สิทธิของผู้ป่วย
การย้ายสถานพยาบาลไปทีอืนต้องดําเนินการเช่นเดียวกับการขออนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาลใหม่
ท่าประสงค์จะเลิกกิจการต้องแจ้งเปนหนังสือและจัดทํารายงานให้ผู้อนุญาตทราบล่วงหน้าอย่างน้อย15วัน
ต้องปฏิบัติตามคําสังของผู้อนุญาตในการเลิกกิจการ
ถ้าพ้นจากหน้าทีเกิน7วัน ผู้รับอนุญาตอาจมอบหมายให้บุคคลซึงมีคุณสมบัติทราบภายใน3วัน นับแต่วันเข้าดําเนินการแทน
ถ้ามีการเปลียนตัวผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลต้องแจ้งเปนหนังสือให้ผู้รับอนุญาตทราบภายใน30วัน นับแต่วันทีมีการเปลียน
ต้องไม่เรียกเก็บเงินเกินอัตราทีได้แสดงไว้และต้องให้การบริการแก่ผู้ปวยตามสิทธิทีแสดงไว้
การขออนุญาตดําเนินการสถานพยาบาล
เป็นผู้ประกอบโรคศิลปะหรือวิชาชีพเวชกรรม ต้องเป็นผู้ทีสามารถควบคุมดูแลกิจการสถานพยาบาลได้โดยใกล้ชิด
ต้องไม่เป็นผู้ดําเนินการสถานพยาบาลอยู่ก่อนแล้ว 2 แห่ง
อายุใบอนุญาต
มีอายุจนถึงสินปีปฏิทินของปีที่ 10 นับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต
หน้าทีของผู้ดําเนินการสถานพยาบาล
ต้องควบคุมดูแลมิให้ผู้ประกอบวิชาชีพดําเนินการผิดสาขา ต้องควบคุมดูแลมิให้มีการรับผู้ปวยไว้ค้างคืนเกินจํานวนเตียงทีกําหนดไว้ในใบอนุญาต
ต้องควบคุมดูแลให้ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพ
ต้องคุบคุมดูแลสถานพยาบาลให้สะอาด ปลอดภัยและมีลักษณะเหมาะสม
หน้าที่ร่วมกันของผู้รับอนุญาตและผู้ดําเนินการสถานพยาบาล
ต้องจัดให้มีจํานวนผู้ประกอบวิชาชีพตามกําหนด
ต้องจัดให้มีเครืองมือเครืองใช้และเวชภัณฑ์ทีจําเปนประจําสถานพยาบาล
ต้องมีรายงานหลักฐานเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพ ผู้ป่วย ให้อยู่ในสภาพทีตรวจสอบได้ไม่น้อยกว่า 5 ปี นับแต่วันจัดทํา
ต้องควบคุมดูแลกิจการให้เป็นไปตามมาตรฐาน
ต้องควบคุมดูแลให้มีการช่วยเหลือผู้ปวยทีอยู่ในสภาพอันตรายและจําเปนต้องได้รับการรักษาฉุกเฉิน
ต้องควบคุมดูแลมิให้มีการใช้สถานพยาบาลผิดประเภท
ต้องควบคุมดูแลมิให้โฆษณาเพือชักชวนให้มีผู้มาขอรับบริการ
ต้องไม่จัดทําเอกสารเกียวกับการรักษาพยาบาลอันเปนเท็จ
การปิดสถานพยาบาลชั่วคราว
ผู้รับอนุญาตไม่ชําระค่าธรรมเนียม
ผู้รับอนุญาตกระทําการให้ผู้อยู่ในสถานพยาบาลเดือดร้อนหรือเกิดอันตราย
สถานพยาบาลไม่แก้ไขปรับปรุงตามผู้อนุญาตมีคําสั่ง
ผู้รับอนุญาตดําเนินการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามพระราชบัญญัติ
โทษ
โทษทางอาญา
ไม่แสดงใบอนุญาตไว้ในที่เปิดเผยปรับไม่เกิน 10000 บาท
ไม่จัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพ เครืองมือ ยาเวชภัณฑ์
จําคุกไม่เกิน 1 ปีหรือปรับไม่เกิน 20000 บาท หรือทังจําทังปรับ
ไม่ช่วยเหลือผู้ป่วยในภาวะอันตรายจําคุกไม่เกิน 2 ปี
หรือปรับไม่เกิน 40000 บาท หรือทังจําทังปรับ
โฆษณาสถานพยาบาลอันเปนเท็จปรับไม่เกิน 20000 บาท
ปรับอีกวันละไม่เกิน 10000 บาทนับแต่วันฝาฝนจนกว่าจะระงับการโฆษณา
จัดทําหลักฐานการรักษาพยาบาลอันเป็นเท็จจําคุกไม่เกิน 2 ปีปรับไม่เกิน 40000 บาท หรือทังจําทังปรับ
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการสถานพยาบาล
ผู้รับอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
ผู้รับอนุญาตและผู้ดําเนินการสถานพยาบาลประเภทต่างๆ
คลินิกพยาบาลและการผดุงครรภ์ ยกเว้นการทําคลอด
สถานพยาบาลการผดุงครรภ์ รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ไม่เกิน 30 เตียง
สถานพยาบาลผู้ปวยเรือรัง