Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปความรู้บทที่3 การพัฒนาองค์กรและเครื่องมือในการพัฒนาองค์กร :star:,…
สรุปความรู้บทที่3 การพัฒนาองค์กรและเครื่องมือในการพัฒนาองค์กร
:star:
การพัฒนาองค์กร (Organization Development) หรือที่เรียกว่า O.D. เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหาในองค์การที่มีประสิทธิภาพ การพัฒนาองค์การเป็นการทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงให้เจริญก้าวหน้า หรือดีขึ้นกว่าเดิมเพื่อทำให้องค์การมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
วัตถุประสงค์ของการพัฒนาองค์กร
6.เน้นทั้งปริมาณงานและความรู้สึกของคน
7.ส่งเสริมการกระจายการตัดสินใจออกไปจากส่วนกลางให้มากที่สุด
8.ส่งเสริมให้สมาชิกตระหนักในความรับผิดชอบต่อตำแหน่งและหน้าที่
9.มุ่งประสานเป้าหมายของบุคคลกับเป้าหมายขององค์การเข้าด้วยกัน
5.มุ่งส่งเสริมหลักการทำงานที่เน้นหลักการมากกว่าตัวบุคคล
4.เพื่อมุ่งปรับปรุง เปลี่ยนแปลง แก้ไขวัฒนธรรมที่ล้าสมัย ไร้สาระ
3.เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานอย่างมีแผนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในวัตถุประสงค์ขององค์การร่วมกัน
2.เพื่อให้องค์การสามารถปรับตัวได้อย่างรวดเร็วและอยู่รอด
1.เพื่อสร้างเสริมความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์การ
เป้าหมายในการพัฒนาองค์กร
สร้างความเข้าใจที่ดี
สร้างความสัมพันธ์ที่ดี
เกิดการพัฒนาคน พัฒนางาน
ขั้นตอนการพัฒนาองค์การ
2.การตรวจวินิจฉัยปัญหา(Diagnosis)
3.การกำหนดยุทธวิธี (Tactic or Intervention) การกำหนดสิ่งสอดแทรกหรือวิธีการที่จะนำมาใช้
1.การรวบรวมข้อมูล(Data Gathering) การรวบรวมปัญหาขององค์การ
4.การประเมินผล(Evaluation) การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
หลักการพัฒนาองค์กร
2.มีความเข้าใจในสถานการณ์ ( Understand Relations )
3.การปรับปรุงสัมพันธภาพ ( Improving Relations )
4.ให้ทุกคนเข้ามามีส่วนร่วมในการดําเนินการการแก้ปัญหา การตัดสินใจ การให้ความสนับสนุนและความร่วมมือ
5.การเชื่อมโยง (Linking) แนวยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การ คือความสามารถในการโน้มน้าวคนในหน่วยงานให้มีความเข้าใจที่ดีต่อกันมากที่สุด
1.กําหนดเป้าหมาย ( Goal Sating ) เพื่อกําหนดนโยบายร่วมกัน
ทั้งฝ่ายผู้บริหารและสมาชิกในองค์การอย่างชัดเจนและตรงไปตรงมา
เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาองค์กร(Organization Development Tools)
การบริหารที่ยึดวัตถุประสงค์เป็นตัวกำหนด
(MBO : Management by objective)
ขั้นตอนการบริหาร
ปรับโครงสร้างขององค์การ
กำหนดจุดตรวจสอบ
กำหนดวัตถุประสงค์
การประเมินการปฏิบัติ
เน้นความสำคัญของการวางแผนเพื่อการกำหนดวัตถุประสงค์ชัดเจน
ระบบควบคุมคุณภาพ/กลุ่มคุณภาพ
(Quality control circle : QCC,QC)
วัตถุประสงค์ : เพิ่มขีดความสามารถในการควบคุมงานและภาวะของผู้นำ ทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขวัญและกำลังใจและควบคุมคุณภาพ เพิ่มพูนความสำนึกในคุณภาพปัญหาในงานและแก้ไขปรับปรุงงาน
การจัดการคุณภาพโดยรวม
(Total quality management : TQM)
การมอบหมายงานแก่พนักงาน
การกำหนดมาตรฐานเทียบเคียง
การจัดส่งสินค้าแบบทันเวลาพอดี
การปรับปรุงผลิตภัณฑ์ตั้งแต่ช่วงที่มีการออกแบบ
การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
ความรู้ในการใช้เครื่องมือ
หมายถึง การจัดระบบและวินัย
ในการทํางาน เพื่อป้องกันความผิดพลาดเสียหาย และมุ่งสร้างคุณค่า (value)ในกระบวนการทํางาน
องค์การแห่งการเรียนรู้
(Learning organization : LO)
วินัย 5 ประการในการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้
Share vision : ฝันเดียวกัน
Team learning : การเรียนรู้เป็นทีม
Mental Model : การยึดติดในใจ อคติ ความฝังใจ
System thinking : ระบบการคิดของคนในองค์กร การคิดอย่างเป็นระบบ
Personal Mastery : ความเป็นเซียนส่วนบุคคล
การบริหารจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
นับว่าเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ใช้ในการบริหาร เป็นการเสพความรู้ ย่อยความรู้ เลือกความรู้ที่มีประโยชน์ มีคุณธรรม ต่อยอด ความรู้ สร้างองค์ความรู้ใหม่ ถ่ายทอด รักษาความรู้ได้ เก่ง ดี มีความสุข อย่างมีสติ
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(Public Sector Management Quality Award:PMQA)
มีความรับผิดชอบต่อสังคม ให้ความสําคัญกับประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การนําองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์
ปรับปรุงระบบบริหารจัดการให้มีความยืดหยุ่นคล่องตัว
พัฒนาการบริหารคนและการพัฒนาคน มีความคิดริเริ่มและเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ตัดสินใจโดยอาศัยข้อมูลสารสนเทศ
ทํางานโดยมุ่งผลลัพธ์เป็นสําคัญ(ประโยชน์สุขของประชาชน)
การบริหารการเปลี่ยนแปลง(Change management)
2.การนำแผนการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ
การจัดแบ่งงาน
การจัดกําลังคน
การจัดระเบียบวิธีการดําเนินงาน
การสื่อสารความเข้าใจถึงแผนการเปลี่ยนแปลง
การพัฒนาบุคคล
การกําหนดกลยุทธ์ในการนําแผนการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ
การทําให้การเปลี่ยนแปลงกลายเป็นแบบแผนวัฒนธรรมขององค์การ
การจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรในการบริหารการเปลี่ยนแปลงนั้น
3.การติดตามประเมินผล
1.การบริหารการเปลี่ยนแปลง(Change management)
การบริหารแบบซิกม่า (Six sigma)
การพัฒนาที่มุ่งความเป็นเลิศ ซึ่งได้มีการกําหนดแนวทางในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ด้านการสื่อสาร การสร้างกลยุทธ์ และนโยบาย การกระจายนโยบาย การจูงใจ และการจัดสรรทรัพยากรในองค์การให้เหมาะสม เพื่อให้การปรับปรุงองค์การเป็นไปอย๋างต๋อเนื่องและเป็นระบบ โดยเน้นการมีส่วนร่วมของพนักงานที่มีความสามารถ
กลยุทธ์ที่สําคัญ
Analyze เป็นการวิเคราะห์ว่าปัญหาต่าง ๆ เริ่มมาจากที่ใด
Improvement การแก้ไขกระบวนการในขั้นนี้
Measurement เป็นการขั้นตอนการวัด
Control การควบคุมในขั้นนี้ถูกกําหนดขึ้นมาเพื่อช่วยให้ black belt กําหนดมาตรการต่างๆ เพื่อเป็นตัวควบคุมตัวแปรที่สําคัญ
เบ็นซ์มาร์คกิ้ง
กระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ระบบการบริหารแบบลีน(Lean Management System)
แนวการออกแบบหรือการปรับปรุงกระบวนการหรือคุณค่าที่เป็นระบบ โดยมีวัตถุประสงค์ ในการกําจัดของเสีย ปรับปรุงคุณภาพ ลดต้นทุน เพิ่มความพึงพอใจให้กับลูกค้า ปรับปรุงความพอใจให้กับพนักงาน เพิ่มความปลอดภัยในการทํางาน ใช้เวลาน้อย ใช้พื้นที่น้อย ใช้ความพยายามจากมนุษย์น้อยและใช้วัตถุดิบน้อย
วิธีปฏิบัติเป็นเลิศ Best practice
มีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศอย่างเห็น ได้ชัด มีส่วนสําคัญที่ทําให้ผลการดําเนินงานเป็นเลิศ
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์(RESULT BASED MANAGEMENT - RBM )
วัตถุประสงค์ของการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (RESULT BASED MANAGEMENT - RBM) คือทํางานให้เสร็จตามกําหนด เกิดผลดีต่อหน่วยงานและส่วนราชการใช้ทรัพยากรของทางราชการให้คุ้มค่า เสมือนหนึ่งการใช้ทรัพยากรของตนเองเน้นการทํางานโดยึดผลลัพธ์เป็นหลัก มีการวัดผลลัพธ์ และค่าใช้จ่ายตามปกติ
นางสาวศิริลักษณ์ หอมระหัด เลขที่94(603101095)