Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดทฤษฎีการบริหารทางการพยาบาล - Coggle Diagram
แนวคิดทฤษฎีการบริหารทางการพยาบาล
ความหมายของการบริหาร
โดยนำศาสตร์มาร่วมกันดำเนินงานโดยใช้วิธีการที่เหมาะสมอย่างมีศิลปะทุกกระบวนการ
โดยมีผู้บริหารเป็นผู้จัดการด้านทรัพยากร เป็นผู้ตัดสินใจและชี้นำผู้อื่นให้ดำเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมาย
การที่บุคคลทำงานอย่างสำเร็จบรรลุเป้าหมาย โดยผ่านผู้อื่นดำเนินการตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
การบริหารการพยาบาล
การดำเนินงานตามกระบวนการบริหาร
โดยอาศัยปัจจัยต่างๆ ที่จำเป็นต่อการบริหาร
เพื่อให้บุคลากรสามารถให้การพยาบาลที่มีคุณภาพและตามวัตถุประสงค์ขององค์กรพยาบาล
ความสำคัญของการบริหาร
เป็นเครื่องมือในการจัดระเบียบองค์กรพยาบาลที่ซับซ้อน
ความสามารถของผู้บริหารการพยาบาลที่ต้องใช้เครื่องมือในการวินิจฉัยสั่งการ โดยจะต้องคำนึงถึงปัจจัยสภาพแวดล้อมต่างๆ
ช่วยให้องค์กรพยาบาลมีความก้าวหน้า การคงอยู่ อย่างยั่งยืน
เป็นเครื่องมือช่วยให้บุคลากรทางการพยาบาลปฏิบัติหน้าที่ที่มีคุณภาพต่อผู้ใช้บริการ
ช่วยชี้ให้เห็นถึงแนวโน้มความสำเร็จขององค์กรในอนาคต
สรุป
นำพาคนในองค์กรปฏิบัติงานได้สำเร็จ
เกิดคุณภาพการบริการทางการพยาบาล
องค์กรวิชาชีพเจริญก้าวหน้า และสังคมมีความสุข
ช่วยให้บุคลากรพยาบาลร่วมกันทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
แนวคิดการบริหาร
Personal center
ให้ความสำคัญกับคน เชื่อว่า คนดีแล้วผลงานจะดีตามมา
“ปรับงานให้เข้ากับคน” หรือ “แนวทางแบบมนุษยสัมพันธ์”
Modern development
ผสมผสานระหว่างการบริหารที่มุ่งที่ตัวบุคคล และ มุ่งที่ผลงาน
การมองระบบความสัมพันธ์ทั้งคน องค์กร และระบบสังคม
Task center
กำหนดวิธีการทำงานที่ดีที่สุด และจะปรับคนให้เข้ากับงาน
มองผลงานและกำไรเป็นสิ่งสำคัญ
ผู้บริหารการพยาบาลที่มีแนวคิดแบบนี้จะมุ่งงานเป็นหลัก
การบริหารที่มุ่งถึงประสิทธิภาพตามสถานการณ์
แนวคิดนี้เชื่อว่าไม่มีวิธีบริหารใดที่ดีที่สุด
หากแต่ขึ้นอยู่กับความจำเป็นของสถานการณ์นั้น ๆ
องค์ประกอบการบริหาร
process
กระบวนการบริหาร
การวางแผน (Planning)
การนำแผนสู่การปฏิบัติ (Implementation)
การประเมินผล (Evaluation)
product or output
ผลทั้งหมดที่เกิดจาการบริหาร สุขภาพของผู้ใช้บริการด้านสุขภาพ
Input => process => product or output
Input
ทรัพยากรทางการบริหาร
คน (Man)
เงิน (Money)
วัสดุอุปกรณ์ (Material)
วิธีจัดการ (Management)
แนวคิดการดูแลเพื่อเพื่อนมนุษย์ (Humanization)
แนวคิดการเห็นอกเห็นใจกัน(Empathy)
แนวคิด/ค่านิยมสำหรับ Humanized health care
• เน้นเริ่มที่ใจและรู้จักการให้
• ลดอัตตา…ทำตัวให้เล็กลง
• รู้จักให้อภัยตนเอง/ผู้อื่น
แนวคิดองค์รวม (Holistic care)
4.แนวคิดเรื่องระดับการพัฒนาสุขภาวะทางปัญญา
ทฤษฎีการบริหาร
ทฤษฎีการบริหารแบบดั้งเดิม
เน้นที่การบริหาร
งาน
เป็นสำคัญ ลักษณะการบริหารงานมีระเบียบแบบแผน มีกฎเกณฑ์และเหตุผล
ทฤษฎีบริหารเชิงวิทยาศาสตร์
ใช้วิธีการตั้งปัญหา
เน้นการบริหารที่ตัวงาน
นักทฤษฎี
Henry L. Gantt
Frank Bunker Gillbreth
Frederick Winslow Taylor
ทฤษฎีการจัดการเชิงบริหาร
กระบวนการบริหารจะแตกต่างตามแนวคิดของผู้บริหารแต่ละคน
ผู้บริหารเป็นผู้ประสานกระบวนการต่างๆ ภายในองค์กรเข้าด้วยกัน
นักทฤษฎี
Henry Fayol
Luther Gulick and Lyndall Urwick
ทฤษฎีระบบราชการ
นักทฤษฎีคือ Max Weber
แนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้างขององค์กร
เน้นการมีเหตุผลเป็นสำคัญ
ทฤษฎีบริหารร่วมสมัย
การทำงานเป็นกลุ่ม หรือเป็นทีม และงานเป็นระบบ
ทฤษฎีระบบ
ทุกสิ่งทุกอย่างมีความเกี่ยวข้องกัน
ประกอบด้วย
Out com
Out put
Feed back
การบริหารงานแบบเน้นวัตถุประสงค์
การมีส่วนร่วม (Participation)
การมีข้อมุลย้อนกลับ (Feedback)
การมีวัตถุประสงค์ร่วมกัน (Objective)
การกำหนดระยะเวลาให้ชัดเจน (Time Schedule)
ทฤษฎีบริหารตามสถานการณ์
no one the best way
วิธีการบริหารไม่ตายตัว ใช้เทคนิคบริหารแบบผสมผสาน
ทฤษฎีบริหารโดยใช้พฤติกรรมศาสตร์
Elton Mayo
บุคคลจะปฏิบัติงานได้ดีขึ้นหากปฏิบัติต่อเขาเหมือนมนุษย์
บำเหน็จรางวัลทางจิตใจ
ปริมาณการทำงานของบุคลากรไม่ได้ขึ้นอยู่กับความสามารถทางกายภาพอย่างเดียว หากขึ้นยู่กับความสามารถทางสังคมด้วย
Douglas Mc Gregor
สมมติฐานทฤษฎี X
1) คนส่วนใหญ่จะขี้เกียจ ไม่ชอบการทำงาน มักเลี่ยงงาน
2) บุคคลโดยเฉลี่ยต้องถูกบังคับ ควบคุม สั่งการจึงจะทำงาน
สมมติฐานทฤษฎี Y
1) โดยพื้นฐานของคนพร้อมที่จะให้ความร่วมมือสนับสนุน
2) คนโดยทั่วไป มีความขยันหมั่นเพียรและมีความรับผิดชอบ
เน้นลักษณะผลกระทบต่อพฤติกรรมของคนในองค์กร
William G. Quchi
ทฤษฎีZ
ผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่มุ่งแสวงหาความสัมพีนธ์ใกล้ชิดระหว่างกัน
ปฏิบัติงานต่างมีจิตสำนึกที่ดีด้านความผูกพันทางใจ ความรัก ความสามัคคีอยู่แล้ว
ทฤษฎีบริหารเชิงปริมาณ
เป็นทฤษฎิที่นำเอาเทคนิคคณิตศาสตร์ และวิธีการเชิงสถิติเพื่อช่วยในการแก้ปัญหา
การบริหารศาสตร์
การเพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจให้กับผู้บริหาร
ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
เพื่อศึกษาสภาพความเป็นจริงแล้วนำผลการวิจัยมาบริหารจัดการ
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
เน้นการออกแบบและนำเอาข้อมูลสารสนเทศโดยอาศัยคอมพิวเตอร์มาใช้ในการบริหาร
การจัดการปฏิบัติการ
เน้นการใช้แนวทางปริมาณช่วยในการตัดสินใจ
ให้ความสำคัญกับกระบวนการผลิตและการให้บริการองค์การให้มีประสิทธิภาพ
เป็นทฤษฎีใหม่ที่พัมนามาจากทฤษฎีการจัดการ
การบริหารเชิงพุทธ
People Management
ผู้บริหารกับทศพิธราชธรรม และพรหมวิหารสี่
สัปปุริสธรรม 7 ประการ
ทฤษฎีทัศนะเชิงคุณภาพ
เน้นการบริหารคุณภาพทั้งองค์กร
เป็นแนวคิดการบริหารที่ยึดคุณภาพเป็นหัวใจของทุกเรื่อง
Customer Focus
ปรับปรุงกระบวนการ ( Process Improvement)
มีส่วนร่วมทั้งองค์กร ( Total Improvement)
ทฤษฎีบริหารที่เกิดขึ้นใหม่
ให้ความสำคัญกับคำว่า
คุณภาพ
การบริหารองค์กรต้องปรับตัวตามสถานการณ์ใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพภายใต้การบริหารแนวใหม่
การวางแผนองค์กร
การวางแผนกลยุทธ์ที่ปรับตัวด้านแผนงานอย่างมีประสิทธิภาพ
การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
เสริมสร้างประเพณีปฏิบัติและค่านิยมสำหรับทุกฝ่ายในองค์กร
เพื่อเป็นเครื่องยึดมั่นและเป็นแนวทางให้ทุกฝ่ายปฏิบัติ
ทฤษฎี 7’s ซึ่งพัฒนาโดย Mc Kinsey
ปัจจัยที่ 1 Hard Ss เป็นอุปกรณ์แห่งความสำเร็จ
2) กลยุทธ์ (Strategy)
3) ระบบ (System)
1) โครงสร้าง (Structure)
ปัจจัยที่ 2 Soft Ss ส่วนเนื้อหาแห่งความสำเร็จแห่งความสำเร็จ
2) บุคลากร (Staff)
3) ทักษะ (skills)
1) แบบการบริหาร (Style)
4) ค่านิยมร่วม (Shared values) หรือเป้าหมายสูงสุด