Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การวินิจฉัยการตั้งครรภ์
- อาการและอาการแสดงที่สงสัยว่าอาจตั้งครรภ์ (Presumtive evidences of pregnancy)
-
-
-
1.4. อ่อนเพลีย (Fatigue)
เป็นอาการที่พบบ่อยโดยเฉพาะระยะ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์เนื่องจากสตรีตั้งครรภ์มีเมตตาบอลิสมเพิ่มขึ้น สตรีตั้งครรภ์จะรู้สึกอ่อนเพลีย อยากนอนหรือนั่งพัก ซึ่งเป็นอาการปกติที่เกิดขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงของร่างกายขณะตั้งครรภ์ อาการอ่อนเพลียจะ รู้สึกดีขึ้นหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
-
-
-
-
- อาการหรืออาการแสดงที่บ่งชี้ว่าน่าจะตั้งครรภ์ (Probable signs of pregnancy)
2.1 ขนาดท้องโตขึ้น
ขนาดของมดลูกจะโตขึ้นจนอยู่เหนือระดับรอยต่อกระดูกหัวเหน่า และสามารถคลำได้คล้ายก้อนเนื้องอก เมื่ออายุครรภ์ได้ประมาณ 12 สัปดาห์ ก้อนนี้จะโตขึ้นเรื่อยๆ ทำให้ท้องมีขนาดโตขึ้น ถ้ามีการตั้งครรภ์เกิดขึ้นขนาดท้องที่โตขึ้นจะสัมพันธ์กับอายุครรภ์
-
-
-
2.5. Ballottement
ประมาณเดือนที่ 4-5 ของการตั้งครรภ์ ภายในโพรงมดลูกจะมีน้ำหล่อเด็กค่อนข้างมาก ขณะที่ทารกยังตัวเล็กอยู่ทารกในครรภ์จะเคลื่อนไหวได้สะดวก การตรวจโดยใช้ปลายนิ้วมือกดบนตัวมดลูกเร็วๆ จะทำให้ทารกที่ลอยอยู่ในน้ำหล่อเด็กจมหรือถูกผลักออกไปยังส่วนล่าง หลังจากนั้นทารกจะลอยหรือสะท้อนกลับมายังที่เดิม ผู้ตรวจจะรู้สึกเหมือนมีก้อนมากระทบมือ ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า external ballottement แต่ถ้าใช้นิ้วมือสอดเข้าไปในช่องคลอดแล้วกดเร็วๆ ผ่านปากมดลูกไปยังส่วนของทารก จะทำให้ทารกลอยขึ้นข้างบนแล้วตกลงมากระทบที่เดิม มือที่สอดเข้าไปในปากมดลูกจะรู้สึกว่ามีอะไรมากระทบ ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า internal ballottement
-
-
- อาการหรืออาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการตั้งครรภ์ (Positive signs of pregnancy)
-
-
-
3.4.ภาพเงากระดูกทารก
การตรวจพบเงากระดูกทารกในภาพรังสี (X-ray) ซึ่งมักเริ่มเห็นหลังอายุครรภ์ 16 สัปดาห์ แต่ในทางปฏิบัติการวินิจฉัยการตั้งครรภ์โดยวิธีนี้ไม่ใช้กันแล้ว เนื่องจากอาจเกิดอันตรายต่อทารกโดยเฉพาะในช่วงที่ทารกยังเป็นตัวอ่อน (embryo) ปกติจะใช้การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงแทนซึ่งปลอดภัยกว่าและตรวจได้ตั้งแต่อายุครรภ์น้อยๆ