Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดูแล บุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหา…
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดูแล
บุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
ระบบหายใจ
• ระบบหายใจ คือ ระบบที่ร่างกายแลกเปลี่ยนแก๊สโดยร่างกายจะรับแก๊ส
ออกซิเจนที่อยู่ภายนอกเข้าสู่ร่างกายและขับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออก
จากร่างกาย
สามารถแบ่งตามต าแหน่งที่อยู่ออกเป็น 2 กลุ่มคือ
อวัยวะในทางเดินหายใจส่วนบน
จมูก คอหอย
อวัยวะในทางเดินหายใจส่วนล่าง
หลอดลม หลอดลมปอด หลอดลมฝอย ปอด กะบังลม
ท่อเจาะหลอดลมคอ
มนุษย์สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้เพราะมีอากาศหายใจวิธีการที่ถูกต้องเหมาะสม ทั้งการส่งเสริมการหายใจ การช่วยเหลือให้ได้รับ
ออกซิเจนเพียงพอ และการก าจัดเสมหะที่อุดกั้นทางเดินหายใจ
การดูแล
ต้องระมัดระวังเลือดออกไปอุดกั้น
ทางเดินหายใจในระยะแรกหลังเจาะคอใหมๆต้องหมั่นดูดเสมหะให้ นอกจากนี้ยังมีผลกระทบ
ทางด้านภาพลักษณ์ผู้ป่วยเปล่งเสียงไม่ได้
การทำงานของระบบทางเดินหายใจ
อัตราการหายใจประมาณ 1ุุุ6-20ครั้งต่อนาที
การหายใจอาจมากหรือน้อยกว่านี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยที่เป็นตัวควบคุมการ
หายใจเข้าออก ระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด และความ
ต้องการออกซิเจน
การคงไว้ซึ่งสภาพทางเดินหายใจที่โล่ง
Oral nasal pharyngeal airway
สำหรับใส่เข้าทางปากหรือจมูก
เพื่อให้ทางเดินหายใจส่วนต้นโล่ง
ท่อหลอดลมคอ
เป็นการใส่ท่อเข้าในหลอดลม
โดยตรงโดยใส่เข้าทางปากหรือจมูก
ท่อเจาะหลอดลมคอ
เป็นการใส่ท่อโดยต้องเจาะคอผู้ป่วยก่อน
เพื่อเป็นทางส าหรับสอดท่อเข้าหลอดลมใหญ
กระบวนการทำงานของระบบทางเดินหายใจ
• ก๊าซออกซิเจนจากอากาศที่รับเข้ามาจะแพร่เข้าสู่หลอดเลือดแดงและไหลเวียนไปเลี้ยงเซลล์ต่างๆ
หายใจเข้า กะบังลมจะเลื่อนต่ำลง กระดูกซี่โครงสูงขึ้น
หายใจออก กะังลมจะเลื่อนสูง กระดูกซี่โครงเลื่อนต่ำลง
ความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
• มีคาร์บอนไดออกไซด์คั่งในเลือด
• ไอจามเล็กๆ น้อยๆ
• หายใจติดขัด
• คัดจมูก
• อาการรุนแรงอย่างหายใจไม่ออก
โรคในระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อย
โรคที่เกิดจากการติดเชื้อ
• ปอดอักเสบ หรือปอดบวม มักเกิดจากการติดเชื้อ
แบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา
• โรคหวัด เกิดได้จากเชื้อไวรัสหลายชนิด
• คออักเสบ เกิดได้ทั้งจากเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย
• วัณโรค เกิดจากแบคทีเรียไมโคแบคทีเรียมทูเบอร์คูโลซิส
การขจัดเสมหะออกจากทางเดินหายใจ โดย
อุปกรณ์สำหรับการดูดเสมหะ
เครื่องดูดเสมหะ
ถุงมือปราศจากเชื้อ
ไม้กดลิ้น
ผ้าก็อซ
สายดูดเสมหะปราศจากเชื้อ
การดูดเสมหะ
เป็นการใช้สายดูดเสมหะ
ปราศจากเชื้อใส่ผ่านเข้าทางปาก จมูกท่อเจาะ
หลอดลมคอหรือท่อหลอดลมคอ พื่อน าเสมหะออก
จากทางเดินหายใจ
การเคาะปอด
การไออย่างมีประสิทธิภาพ
โดยให้ผู้ป่วยนั่งตัวตรง ก้มตัวไปข้างหน้าเล็กน้อย
หายใจเข้า-ออกลึก ๆ ช้า ๆ 3-4 ครั้งครั้งสุดท้ายหายใจเข้าแล้วกลั้นหายใจไอออกมแรง ๆ เพื่อขับ เสมหะออก
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับน้ำ
ประมาณวันละ 2-3 ลิตร โดยน้ าอุ่นจะช่วยให้เสมหะ
อ่อนตัว ขับออกได้ง่าย
การพ่นละอองฝอย
เป็นการใช้ละอองน้ าพ่นเพื่อเพิ่มความชุ่มชื้น ทำให้
เสมหะอ่อนตัวลง และขับออกได้ง่ายขึ้น
โรคในระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อย
โรคที่เกิดจากสาเหตุอื่น
• โรคภูมิแพ้
เกิดจากการตอบสนองของภูมิคุ้มกันจากการ
ได้รับสิ่งกระตุ้นท าให้มีอาการคัดจมูกน้ำมูกไหลไอจาม
และอาจเกิดอาการกับระบบอื่นๆ ด้วย
• หอบหืด
เกิดจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อหลอดลม เป็น
ผลให้หายใจล าบาก เจ็บหน้าอก และหายใจมีเสียงวี๊ดๆ
• ถุงลมโป่งพอง
เกิดจากการอักเสบของถูกลมปอดจนพอง
และแตกออก จนเกิดอาการไอเรื้อรังและหายใจตื้นซึ่ง
สาเหตุหลักนั้นมาจากการสูบบุหรี่
• มะเร็งปอด
มักเกิดจากการสูดดมควันบุหรี่ อาการใน
ระยะแรกที่สังเกตได้คือ เจ็บหน้าอก ไอเรื้อรังไอเป็นเลือด
เบื่ออาหาร และน้ าหนักลด
การดูแลส่งเสริมให้ผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุได้รับออกซิเจน
การจัดท่า
การสอนเทคนิคการหายใจ
2.1 การหายใจเข้า-ออกลึก ๆ
2.2 การผ่อนลมหายใจออกทางปาก
2.3 การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกระบังลม
การกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้หายใจอย่างมีประสิทธิภาพ
การให้ออกซิเจน
4.1 แหล่งออกซิเจน
4.2. เครื่องทำความชื้น
4.3 อุปกรณ์ให้ออกซิเจน
• ชนิดสายยางเข้าจมูก
• ชนิดหน้ากากออกซิเจน
การวัดความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด
เครื่องมือที่ใช้วัดเรียก Pulse oximetry