Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การอักเสบและการติดเชื้อ - Coggle Diagram
บทที่ 4 การอักเสบและการติดเชื้อ
1.การอักเสบ (Inflammation)
พยาธิสรีรวิทยาการอักเสบ
1.1. การอักเสบแบบเฉียบพลัน(Acute inflammation)
ลักษณะสำคัญ
2.การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของหลอดเลือดที่เกิดจากฤทธิ์ของสารสื่อกลางการอักเสบ มีผลเพิ่มการซึมผ่านผนังหลอดเลือด
3.การเคลื่อนที่ของเม็ดเลือดขาวออกจากหลอดเลือด
ขั้นตอนทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม
3.1เม็ดเลือดขาวเกาะติดผนังหลอดเลือดและเคลื่อนย้ายไปยังที่มีการอักเสบ
3.1.2การหมุนไปบนผนังหลอดเลือด
3.1.3การยึดติดกับผนังเซลล์บุหลอดเลือด
3.1.1การเคลื่อนย้ายเข้าใกล้ผนังหลอดเลือด
3.1.4การเคลื่อนตัวผ่านผนังหลอดเลือด
3.2การเคลื่อนเข้าหาสิ่งกระตุ้น
3.3การจับกิน
1.การขยายตัวของหลอดเลือด
สารสื่อกลางอักเสบ
1.กลุ่มวาโสแอคทิฟ เอมิน
ฮีสตามีน
เซโรโทนิน
2.เมแทบอไลต์ของกรดอะราซิโดนิค
3.Platelet-activating factor (PAF)
4.สารสื่อกลางกลุ่ม Plasma proteases
กลุ่มสื่อสารโปรตีน ประกอบด้วยระบบที่สำคัญ
ระบบไคนิน
ระบบคอมพลีเมนต์
ระบบการแข็งตัวของเลือด
5.ไซโตไคน์
6.ไนตริกออกไซต์
ออกฤทธิ์ต้านการอักเสบ
ยับยั้งการเกาะติดผนังหหลอดเลือดของเม็ดเลือดขาว
ยับยั้งการจับกลุ่มของเกล็ดเลือด
ผลลัพธ์ของการอักเสบเฉียบพลัน
2.การถูกแทนที่ด้วยพังผืด
1.การกลับคืนสภาพปกติอย่างสมบูรณ์
3.การเกิดหนองฝี
4.การอักเสบดำเนินต่อไปกลายเป็นการอักเสบเรื้อรัง
1.2. การอักเสบเรื้อรัง(Chronic inflammation)
1.Chronic nonspecific inflammation
ทำให้เนื้อเยื่อเกิดแผล
ฝีในปอด
โรคกระดูกอักเสบ
2.Chronic granulomatous inflammation
พบเนื้อตายบริเวณตรงกลาง
โรคเรื้อน
ซิฟิลิส
วัณโรค
จะพบการเปลี่ยนแปลงที่มีลักษณะเฉพาะใน Granuloma
1.Foreign body granuloma การอักเสบเนื่องจากสิ่งแปลกปลอม
2.Immune granuloma การติดเชื้อบางชนิดหรือรับสารพิษบางชนิด
1.3 อาการและอาการที่แสดงของการอักเสบ
1.3.1 ลักษณะที่พบเฉพาะที่
การอักเสบเป็นหนอง
ฝี
การอักเสบชนิดที่มีไฟบรินสะสม
แผล
การอักเสบชนิดที่มีของเหลวสะสม
1.3.2 ลักษณะที่พบทั่วร่างกาย
มีการเปลี่ยนแปลงเป็นระยะ
ระยะที่1 Acute phase response
อาการที่แสดง
4.การย่อยสลายโปรตีนเพื่มขึ้น
ปวดตามข้อ
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
เมื่อยล้า
3.ความดันโลหิตต่ำ
5.ปริมาณ Immature neutrophils เพิ่มมากขึ้น
2.อาการเบื่ออาหาร
6.ซึม
1.อาการไข้
7.ตับเพิ่มการสังเคราะห์ Fibrinogen และ C-reactive protein
8.เมื่ออุณหภูมิร่างกายสูงขึ้นมากถึง 39.5 เซลเซียส
ผู้ป่วยอาจเกิดภาวะ Dehydration
ระยะที่2 Alterations in WBCs (Leckocytosis and Leukopenia)
มีการอักเสบรุนแรงและมีการเปลี่ยนแปลงที่เรียกว่า "Shift to the left"
1.4 การวินิจฉัย
สามารถประเมินได้จากห้องปฎิบัติการ
2.Erythrocyte sedimentary rate (ESR)
อัตราการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดง บ่งบอกว่ามีการอักเสบเกิดขึ้น
3.C-Reactive protein (CRP)
เป็นการตอบสนองโปรตีนเมื่อร่างกายมีภาวะอักเสบ
Complete blood count (CBC)
ค่าwhite blood cells count มากกว่า 10,000 cell/mm
4.สารจำพวก Interleukin
สารตัวนี้หลั่งออกมาจากเม็ดเลือดขาว
5.Lipoprotein-associated phospholipase A2 (Lp-PLA2)
เอนไซม์ที่มีความจำเพาะต่อภาวะการอักเสบ
2.การซ่อมแซมเนื้อเยื่อ (Tissue repair)
2.2 การผิดปกติหรือภาวะแทรกซ้อน
1.การสร้างแผลเป็นไม่แข็งแรงเพียงพอ
2.การสร้างแผลเป็นมากเกินไป
3.การรบกวนหรือขัดขวางการทำหน้าที่ของอวัยวะ
การเกิดเนื้องอก
2.3 ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของแผล
การไหลเวียนของเลือดและการขนส่งออกซิเจน
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน
2.ภาวะโภชนาการ
5.ความเครียด
1.อายุ
6.ปัจจัยอื่นๆ
สิ่งแปลกปลอม
ลักษณะของแผล
การเคลื่อนไหว
การแยกของแผล
เทคนิคการเย็บแผลและเทคนิคการทำแผล
การติดเชื้อ
2.1 กระบวนการซ่อมแซม
2.1.1 การงอกใหม่
2.เซลล์คงสภาพ
จะแบ่งตัวได้ดีเมื่อมีการกระตุ้น ทำให้อวัยวะซ่อมแซมตัวเองได้
3.เซลล์ถาวร
เซลล์ไม่สามารถแบ่งตัวได้ถูกทดแทนด้วย Fibrous tissue cell
1.เซลล์ไม่คงตัว
มีการแบ่งตัวเพิ่มจำนวน พบในเนื้อเยื่อที่มีการหลุดลอก
2.1.2 การหายของแผล
การหายของแผลหรือการสมานของแผล
1.การหายแบบปฐมภูมิ
นำขอบแผลมาชิดกันโดยไม่มีแรงดึงของแผล
2.การหายแบบทุติยภูมิ
การหายของแผลขนาดใหญ่และลึก มีช่องว่างระหว่างแผล
3.การหายแบบตติยภูมิ
แผลมีช่องว่างระหว่างแผล การเย็บปิดปากแผลจะช่วยให้หายเร็ว
ระยะขั้นตอนการหายของแผล
2.ระยะการสร้างเนื้อเยื่อเส้นใยหรือระยะงอกขยาย
3.ระยะเนื้อเยื่อเจริญเต็มที่หรือระยะปรับตัว
1.ระยะที่มีเลือดออกและการอักเสบ
3.การติดเชื้อ (Infection)
3.2 ระยะของการติดเชื้อ
ระยะที่ 3 Acute period
แสดงอาการท่ี่รุนแรง
1.Localized acute infaction
ระบุตำแหน่งได้ชัดเจน
บวม
แดง
ปวด
ร้อน
2.Systemic acute infection
ติดเชื้อทุกส่วน ทำให้ร่างกายต้องใช้เมตาบอริซึมเพิ่มขึ้น
มีไข้
หนาวสั่น
หายใจเร็ว
หัวใจเต้นเร็ว
ระยะที่ 4 Convalescent period
ระยะพักฟื้นรักษาจนหาย
ระยะที่ 2 Prodomal period
ปวดศีรษะ
ปวดเมื่อยตามตัว
ปวดกลามเนื้อ
เบื่ออาหาร
ปวดข้อ
ระยะที่ 1 Incubation period
ระยะฟักเชื้อ มักไม่พบอาการ
3.3 ชนิดของเชื้อก่อโรค
3.แบคทีเรีย
ปล่อยสารพิษมาทำลายเซลล์
2.Endotoxins
สร้างมาจากผนังเซลล์ของgram negative bacteria
1.Exotoxins
สร้างในช่วงแบคคทีเรียมีการเจริญเติบโต
อาการและอาการแสดง
2.หัวใจเต้นเร็วมากกว่า 90 ครั้งต่อนาที
3.หายใจเร็วมากกว่า 20 ครั้งต่อนาที
4.พบเม็ดเลือดขาวมากกว่า 10,000 ตัวต่อมิลลิลิตร
1.ไข้สูงกว่า 38 เซลเซียส
4.เชื้อรา
ความรุนแรงของการเกิดโรค
2.Cutaneous mycoses
บริเวณผม ขน เล็บ
3.Subcutaneous mycoses
บริเวณผิวหนังและใต้ผิวหนัง
4.Sustemic (deep) mycoses
ติดในระบบต่างๆของร่างกาย
1.Superficial mycoses
อยู่ตื้นที่สุด
การวินิจฉัย
ย้อมด้วยKotaassium hydroxide
ย้อมด้วย Lactophenol cotton blue
ย้อมด้วย Indian ink
2.ไวรัส
อาการและอาการแสดง
มีน้ำมูก หรือเสมหะ
ปวดท้อง ท้องเสีย
ไอ
คลื่นไส้ อาเจียน
มีไข้
ปวดศีรษะ
การวินิจฉัย
ตรวจเลือด
ตรวจย้อมเชื้อ
ตรวจอุจจาระ
เอกซ์เรย์
5.พยาธิ
1.พยาธิใบไม้ในตับ
อากาารของถุงน้ำดีอักเสบ
ท้องร่วง
คลื่นไส้อาเจียน
คลำตับโต
เบื่ออาหาร
ตัวเหลือง
ปวดท้อง
การวินิจฉัย
ตรวจอุจาระผู้ป่วย
2.พยาธิตัวติด
2.1พยาธิตืดหมู
2.2พยาธิตืดวัว
การวินิจฉัย
อาหารที่รับประทาน
การตรวจร่างกาย
การตรวจอุจจาระ
1.พรีออน
การวินิจฉัย
การถ่ายภาพถ่ายสมอง
การตรวจน้ำไขสันหลัง
การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง
การตรวจชิ้นสมอง
อาการที่พบ
สติปัญญาเสื่อมลง
มีปัญหาทางการมองเห็น
3.1 วงวรการติดเชื้อ
3.ทางออกของเชื้อโรค
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบโลหิต
ระบบสืบพันธุ์
เชื้อที่อยู่บนแผลที่ผิวหนัง
มารดาสู่ทารกโดยผ่านทางสายสะดือ
ระบบทางเดินหายใจ
4.วิธีการแพร่กระจายเชื้อ
การแพร่เชื้อทางอากาศ
การแพร่กระจายโดยมีตัวนำ
2.รังโรค
คน
สัตว์
พืช
แมลงต่างๆ
5.ทางเข้าของเชื้อสู่ร่างกาย
ทางเดินหายใจ
ทางเดินอาหาร
อวัยวะสืบพันธุ์
ผิวหนังที่ฉีกขาด
เชื้อที่เป็นสาเหตุหรือเชื้อก่อโรค
รา
Prion
ไวรัส
ปรสิต หรือ Protozoa
แบคทีเรีย
6.ความไวของบุคคลในการรับเชื้อ
4.ภาวะไข้ (Fever หรือ Pyrexia)
Pyrogens สารที่ทำให้เกิดอาการไข้
กลไกการเกิดไข้
ขั้นตอนที่1 เซลล์ถูกทำลายปล่อย endogenous pyrogens
ขั้นตอนที่2 ตั้งค่าอุณหภูมิร่างกายใหม่
ขั้นตอนที่3 ร่างกายตอบสนองอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น
ขั้นตอนที่4 อุณหภูมิร่างกายเพิ่มขึ้นตอบสนองจุด set point
ขั้นตอนที่5 การตอบสนองร่างกายเพื่อลดอุณหภูมิ
หลอดเลือดขยายตัว
เหงื่อออก
หายใจเร็ว
แบ่งเป็น
Exogenous pyrogens
Tomer necrotic fector (TNF)
อุณหภูมิที่ถือว่าเป็นไข้
อุณหภูมิ 39.5-40.4 เซลเซียส ไข้สูง
อุณหภูมิ 38.5-39.4 เซลเซียส ไข้ปานกลาง
อุณหภูมิ 40.5 เซลเซียสขึ้นไป ไข้สูงมาก #ซึ่งอันตราย
อุณหภูมิ 37.5-38.4 เซลเซียส ไข้ต่ำ
การตอบสนองร่างกายเมื่อเกิดไข้
4.Defervescence stage
เหงื่ออกมาก
3.Flush stage
ผิวร่างกายเริ่มอุ่น
ผิวร่างกายเริ่มแดง
2.Chill stage
รู้สึกหนาว
ผิวหนังซีด
ขนลุก
มีอาการสั่น
หลอดเลือดหดตัว
1.Prodromal stage
อ่อนเพลีย
รู้สึกไม่สุขสบาย
ปวดศีนษะ