Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์ - Coggle Diagram
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
ระยะก่อนเกิดตัวอ่อน (Ovum, Zygote , Blastocyst) เริ่มจากการมีเพศสัมพันธุ์ –
2 สัปดาห์
ระยะตัวอ่อน (The Embryonic Stage) ต้นสัปดาห์ที่3- สัปดาห์ที่ 8
ระยะตัวแก่ (The Fetal Stage) สัปดาห์ที่9– ครบกาหนดคลอด
การแบ่งตัวภายหลังการปฏิสนธิ
วันที่ 1 แบ่งตัวแบบ mitosis จาก 1 เป็น 2 เซล เรียก Clevage stage
วันที่ 4 เจริญเป็น morula ลักษณะคล้ายลูกน้อยหน่า มีจานวนเซล 12 – 16 เซล แต่ละเซลเรียกว่า Blastomere
วันที่ 5-6 เจริญเป็น Blastocyst ซึ่งมีลักษณะแตกต่างจาก morula
zona pellucidaหายไป
inner cell mass เจริญเป็นตัวเด็กภายในช่องว่างระหว่างเซลของ inner cell
Mass จะเจริญเป็น blastocoele
outer cell mass เจริญเป็น trophoblast
วันที่ 7 เกิดการฝังตัวของ Blastocyst ที่บริเวณโพรงมดลูกส่วนบน โดยจะเอาด้านที่มี inner cell mass ที่เรียกว่า embryonic pole แตะลงบนเยื่อบุโพรงมดลูก และแทรกตัวกินทะลุเข้าไปในระบบไหลเวียนเลือดของแม่บริเวณมดลูก
วันที่ 13 การฝังตัวเสร็จสมบูรณ์ การที่ตัวอ่อนฝังตัวลงในเยื่อบุโพรงมดลูกของแม่ อาจทาให้มีเลือดออกมาทางช่องคลอดของแม่ เรียกว่า Implantation bleeding
สัปดาห์ที่ 3 ระยะนี้จะมีการเจริญอย่างชัดเจน 3 อย่าง
Body stake ซึ่งเจริญไปเป็นสายสะดือ
Embryoblast ซึ่งเจริญไปเป็น ทารก น้าหล่อเด็ก และ amnion
ในขณะที่มีการเปลี่ยนแปลงของไข่ที่ได้รับการผสมแล้ว เยื่อบุมดลูกก็จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นdecidua หลังจากมีการฝังตัวของตัวอ่อน
Decidua basalis (serotina) คือ ส่วนของเยื่อบุข้างใต้ chorionic vesicle และติดกับ myometrium
Decidua capsularis(reflexa) คือส่วนของเยื่อบุที่ปกคลุม chorionic vesicle หันทางด้านโพรงมดลูก
Deciduavera(perietalis) คือส่วนของเยื่อบุรอบผนังมดลูกยกเว้นบริเวณ chorionic vesicle
Trophoblast ซึ่งเจริญไปเป็นรกและ chorion
การเจริญของทารกในครรภ์และภายหลังคลอด
Medial- lateral direction เจริญจากส่วนกลางออกไปสู่ด้านข้าง เช่น ลาตัวมีการเจริญก่อนแขนขาแล้วจึงไปถึงนิ้วมือ นิ้วเท้า
Cephalo-caudal directionเจริญจากหัวถึงหาง ศีรษะเจริญได้เร็วกว่าส่วนอื่นเป็นการเจริญทั้งในหน้าที่และขนาด เช่น ยกศีรษะได้ก่อน แล้วจึงสามารถใช้ตัวก่อนใช้แขนขา
การเจริญเติบโตของรก สายสะดือ เยื่อหุ้มเด็ก และน้้าหล่อเด็ก
รก (Placenta)
เป็นอวัยวะที่สร้างขึ้นมาในขณะตั้งครรภ์เมื่อมีการตกไข่ ไข่จะเคลื่อนที่ไปในท่อนาไข่จนมาถึงมดลูก และฝังตัวที่โพรงมดลูก ประมาณวันที่ 6-7 หลังจากตกไข่ จากนั้นเซลล์เริ่มแบ่งตัวและพัฒนากลายเป็นตัวอ่อนทารกและรก
ความสำคัญของรกในการสร้างฮอร์โมน
ฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน รกจะทาหน้าที่ในการผลิตฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนเพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์ โปรเจสเตอร์โรนมีเความสาคัญมาก ทาให้การตั้งครรภ์สามารถดาเนินต่อไปได้โดยการยับยั้งการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก ทาให้ร่างกายไม่กาจัดทารกซึ่งถือว่าเป็นสิ่งแปลกปลอมของร่างกายออกมาโดยไปกดภูมิคุ้มกันของร่างกาย
สายสะดือ(Umbilical cord
เป็นเนื้อเยื่อที่เชื่อมต่อระหว่างรกในผนังมดลูกของมารดากับหน้าท้องของเด็ก สายสะดือจะประกอบไปด้วยเส้นเลือด 3 เส้น คือ เส้นเลือดดาเส้นใหญ่จะมีหน้าที่ส่งอาหารและออกซิเจนไปสู่ทารกในครรภ์ ส่วนอีก 2 เส้นจะเป็นเส้นเลือดแดง
น้้าหล่อเด็ก (Amniotic fluid)
น้าทูนหัวทารก เป็นของเหลวที่อยู่ในถุงน้าคร่า/ถุงที่เป็นที่อยู่ของทารกในครรภ์โดยน้าคร่าจะอยู่รอบ ๆตัวทารก ขณะอยู่ในครรภ์ในโพรงมดลูกของมารดา