Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์, : - Coggle Diagram
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
1) ระยะก่อนเกิดตัวอ่อน (Ovum, Zygote , Blastocyst) เริ่มจากการมีเพศสัมพันธุ์
–2 สัปดาห์
2) ระยะตัวอ่อน (The Embryonic Stage) ต้นสัปดาห์ที่3- สัปดาห์ที่ 8
3) ระยะตัวแก่ (The Fetal Stage) สัปดาห์ที่9– ครบกำหนดคลอด
การแบ่งตัวภายหลังการปฏิสนธิ
วันที่ 1 แบ่งตัวแบบ mitosis จาก 1 เป็น 2 เซล เรียก Clevage stage
วันที่ 4 เจริญเป็น morula ลักษณะคล้ายลูกน้อยหน่า มีจานวนเซล 12 – 16 เซลล์
แต่ละเซลล์เรียกว่า Blastomere
วันที่ 5-6 เจริญเป็น Blastocyst ซึ่งมีลักษณะแตกต่างจาก morula
1) zona pellucidaหายไป
2) outer cell mass เจริญเป็น trophoblast
3) Inner cell mass เจริญเป็นตัวเด็กภายในช่องว่างระหว่างเซลล์ของ Inner cell Mass จะเจริญเป็น blastocoele
วันที่ 7 เกิดการฝังตัวของ Blastocyst ที่บริเวณโพรงมดลูกส่วนบน โดยจะเอาด้านที่มี inner cell mass ที่เรียกว่า embryonic pole แตะลงบนเยื่อบุโพรงมดลูก และแทรกตัวกินทะลุเข้าไปในระบบไหลเวียนเลือดของแม่บริเวณมดลูก
วันที่ 13 การฝังตัวเสร็จสมบูรณ์ การที่ตัวอ่อนฝังตัวลงในเยื่อบุโพรงมดลูกของแม่ อาจทาให้มีเลือดออกมาทางช่องคลอดของแม่ เรียกว่า Implantation bleeding
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์
ในช่วงอายุ 1-3 เดือนแรก จะมีการเจริญของเนื้อเยื่อภายในตัวเด็ก
1) ชั้นนอก (ectoderm) จะเจริญให้ส่วนที่ปกคลุมและสัมผัสสิ่งภายนอกได้แก่
ระบบประสาท ผิวหนัง
2) ชั้นกลาง (mesoderm) จะเจริญไปเป็นโครงกระดูก กล้ามเนื้อ ระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบขับถ่ายและระบบสืบพันธุ์
3) ชั้นใน (endoderm) จะเจริญไปเป็นส่วนที่ดาดภายในอวัยวะต่างๆ
เช่น epithelial cells
สัปดาห์ที่ 9–12 อายุครรภ์ 3 เดือน ทารกในครรภ์ (fetus) ยาวประมาณ 7.5 ซม. หนัก 28 กรัม วัดความยาว Crown-rump ได้ 6- 7 ซม. มีเล็บ นิ้วมือ นิ้วเท้า มีเปลือกตา (แต่ยังปิดอยู่) มีหลอดเสียงริมฝีปาก จมูกสูงขึ้น ศีรษะยังคงโตมากประมาณ 1/3 ของความสูงตลอดร่างกาย หน้าผากสูง อวัยวะเพศชายหรือหญิงเห็นได้ชัด ทารกในครรภ์สามารถแสดงการตอบสนองได้
สัปดาห์ที่ 13–16 อายุครรภ์ 4 เดือน ยาวประมาณ 16 ซม หนัก 120 กรัม ความยาว Grown-rump ของเด็กวัดได้ 12 ซม. ร่างกายยาวออกจนทาให้ศีรษะมีสัดส่วนเป็น ¼ ของความสูงทั้งตัว สายสะดือยาวเท่ากับทารกในครรภ์โดยจะยาวคู่กันต่อไปในขณะที่รกได้พัฒนาเต็มที่แม่รู้สึกได้ว่าทารกดิ้น
สัปดาห์ที่ 17-20 อายุครรภ์ 5 เดือน ยาวประมาณ 25 ซม. หนัก 340-450 กรัม เริ่มมีขนอ่อนและไข (vernix caseosa) มีผมและคิ้ว เล็บเจริญขึ้น สามารถฟังเสียงหัวใจได้จากการฟังเสียงหัวใจทางหน้าท้อง
สัปดาห์ที่ 21-24 อายุครรภ์ 6 เดือน ยาวประมาณ 30 ซม. หนัก 630 กรัม ตาหลับและลืมได้ ผิวหนังเหี่ยวย่น มีสีชมพูหรือแดง ภายในปอดเริ่มสร้างสาร surfactant ในปอด
สัปดาห์ที่ 25-28 อายุครรภ์ 7 เดือน ยาวประมาณ 35 ซม. หนัก 1,200 กรัม ความยาว Grown-rump ของเด็กวัดได้ 25 ซม. มีพัฒนาการของปอดเพียงพอที่จะมีการแลกเปลี่ยนของก๊าช ถ้าคลอดในระยะนี้และได้รับการดูแลอย่างดีอาจมีชีวิตรอดได้ ร้องเสียงค่อย ตัวผอม การเคลื่อนไหวของแขน ขา ดี
สัปดาห์ที่ 29-32 อายุครรภ์ 8 เดือน ยาวประมาณ 40 ซม. หนัก 1,700 กรัม ความยาว Grown-rump ของเด็กวัดได้ 28 ซม. มีไขมันมากขึ้นเพื่อช่วยปรับตัวรับอุณหภูมิที่แตกต่างไปภายนอกมดลูก เล็บยาวถึงปลายนิ้ว rooting reflex ดี sucking refles แรง อัณฑะเริ่มลงมาในถุงอัณฑะถ้าคลอดจะสามารถเลี้ยงรอดได้ร้อยละ 40-50
สัปดาห์ที่ 33-36 อายุครรภ์ 9 เดือน ยาวประมาณ 45 ซม. หนัก 2,200–2,500 กรัม ความยาว Grown-rump ของเด็กวัดได้ 32 ซม. ผิวหนังตึง ขนอ่อนหายไปเกือบหมด เล็บพ้นปลายนิ้ว
สัปดาห์ที่ 37-40 อายุครรภ์ 10 เดือน ยาวประมาณ 50 ซม. หนัก 3,000-3,400 กรัม ความยาว Grown-rump ของเด็กวัดได้ 36 ซม. มีความสมบูรณ์ทุกอย่างของเด็กครบกาหนด ผิวหนังเรียบตึง สีชมพู ผมบนศีรษะยาว ลักษณะอวัยวะสืบพันธุ์เจริญสมบูรณ์ หลังคลอด ทารกจะร้องทันที มีการเคลื่อนไหวของแขน ขา ลืมตา ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะเป็นปกติ ดูดนมได้
การเจริญของทารกในครรภ์และภายหลังคลอด
1) Cephalo-caudal directionเจริญจากหัวถึงหาง ศีรษะเจริญได้เร็วกว่าส่วนอื่นเป็นการเจริญทั้งในหน้าที่และขนาด เช่น ยกศีรษะได้ก่อน แล้วจึงสามารถใช้ตัวก่อนใช้แขนขา
2) Medial- lateral direction เจริญจากส่วนกลางออกไปสู่ด้านข้าง เช่น ลาตัวมีการเจริญก่อนแขนขาแล้วจึงไปถึงนิ้วมือ นิ้วเท้า
การเจริญเติบโตของรก สายสะดือ เยื่อหุ้มเด็ก และน้้าหล่อเด็ก
รก (Placenta) เป็นอวัยวะที่สร้างขึ้นมาในขณะตั้งครรภ์เมื่อมีการตกไข่ ไข่จะเคลื่อนที่ไปในท่อนาไข่จนมาถึงมดลูก และฝังตัวที่โพรงมดลูก ประมาณวันที่ 6-7 หลังจากตกไข่ จากนั้นเซลล์เริ่มแบ่งตัวและพัฒนากลายเป็นตัวอ่อนทารกและรก รกประกอบด้วย เนื้อรก สายสะดือ และเยื่อหุ้มรก โดยรกจะเกาะอยู่ตรงส่วนผนังด้านในของมดลูก แต่อยู่นอกถุงน้าคร่าและจะมีสายสะดือเป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างรกกับทารก รกต่อกับเส้นเลือดที่สายสะดือของทารก เชื่อมระหว่างรกกับทารก
สายสะดือ(Umbilical cord(Umbilical cord (Umbilical cord (Umbilical cord ) สายสะดือ เป็นเนื้อเยื่อที่เชื่อมต่อระหว่างรกในผนังมดลูกของมารดากับหน้าท้องของเด็ก สายสะดือจะประกอบไปด้วยเส้นเลือด 3 เส้น คือ เส้นเลือดดาเส้นใหญ่จะมีหน้าที่ส่งอาหารและออกซิเจนไปสู่ทารกในครรภ์ ส่วนอีก 2 เส้นจะเป็นเส้นเลือดแดง มีหน้าที่ นาของเสียออกจากร่างกายของทารกมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1-2 เซนติเมตร และจะมีความยาวประมาณ 50 เซนติเมตร อาจจะสั้นหรือยาวกว่านี้ก็ได้
น้้าหล่อเด็ก (Amniotic fluid)
น้าหล่อเด็กบางครั้งเรียก น้าทูนหัวทารก เป็นของเหลวที่อยู่ในถุงน้าคร่า/ถุงที่เป็นที่อยู่ของทารกในครรภ์โดยน้าคร่าจะอยู่รอบ ๆตัวทารก ขณะอยู่ในครรภ์ในโพรงมดลูกของมารดา ทารกจะลอยตัวอยู่ในน้าคร่าในถุงน้าคร่า โดยน้าคร่านี้จะทาหน้าที่เป็นเกราะป้องกันการกระทบกระเทือนต่อทารกทาให้ทารกเคลื่อนไหวน้าคร่านี้
: