Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลผู้คลอดทมี่ี ความผดิปกติของช่องทางคลอด (Abnormality of…
กระบวนการพยาบาลผู้คลอดทมี่ี ความผดิปกติของช่องทางคลอด (Abnormality of passage)
ความผิดปกติของช่องเชิงกรานแท้ (Abnormality of true pelvis)
สาเหตุ
ส่วนสูงน้อยกว่า 140 เซนติเมตร
ขาดฮอร์โมนเพศหญิง
พิการมาตั้งแต่ก้าเนิดซึ่งมักเกิดร่วมกับความ พิการของกระดูกสันหลังหรือขา
เชิงกรานยังไม่เจริญเต็มที่ (อายุน้อยกว่า 18 ปี)
การเจริญเติบโตผิดปกติมาตั้งแต่ก้าเนิด
เชิงกรานยึดขยายล้าบาก (อายุมากกว่า 35 ปี)
เป็นโรคกระดูก เนื้องอกหรือวัณโรคกระดูก
อุบัติเหตุที่ท้าให้เชิงกรานหักแตก หรือเคลื่อน
เชิงกรานแคบ (Pelvic contraction)
เชิงกรานแคบที่ช่องเข้า (inlet contraction)
ผลต่อการด้าเนินการคลอด
ทารกผ่านซ่องเชิงกรานได้ยากหรือไม่ได้เลย
ปากมดลูกเปิดขยายล่าช้า 3. ทารกมักมีส่วนน้าผิดปกติ
ทารกมักมีส่วนน้าผิดปกติ
ผลต่อผู้คลอดและทารก
ส่วนน้าที่กดชองทางคลอดเป็นเวลานาน
ถุงน้้าแตกก่อนก้าหนดหรือแตกในระยะตันๆ
มดลูกแตก (uterine rupture)
ผู้คลอดเหนื่อย อ่อนเพลีย ขาดน้้า
ทารกในครรภ์เกดิภาวะ Fetal distress
ทารกมี molding มากกว่าปกติ
ทารกเกิด caput succedaneum, cephalhematoma
ทารกเกิดเนื้อตายของหนังศีรษะ scalp necrosis
การดูแลรักษาในรายเชิงกรานแคบที่ช่องเข้า
ผู้คลอดที่ส่วนน้ากับช่องเชิงกรานผิด สัดส่วนไม่มาก พิจารณาให้ทดลองคลอด ทางหน้าท้องก่อน
ผู้คลอดที่ผ่านการคลอดหลายครั้งแล้ว เฝ้าระวังอาการแสดงของภาวะมดลูกแตก
ท้าผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
งดให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก 5
ผู้คลอดที่ทารกในครรภ์อยู่ในท้าผิดปกติ เตรียมผ่าตัด
เชิงกรานแคบที่ช่องภายใน (Midpelviccontraction)
ผลต่อการด้าเนินการคลอด
การหมุนภายในของศีรษะทารกถูกขัดขวาง
การหดรัดตัวของมดลูกไม่ประสิทธิภาพ
ศีรษะทารกเคลื่อนต่้าช้า
ผลต่อการด้าเนินการคลอดและทารก
ส่วนน้าที่กดชองทางคลอดเป็นเวลานาน
ถุงน้้าแตกก่อนก้าหนดหรือแตกในระยะตันๆ
มดลูกแตก (uterine rupture)
ผู้คลอดเหนื่อย อ่อนเพลีย ขาดน้้า
ทารกในครรภ์เกดิภาวะ Fetal distress
ทารกมี molding มากกว่าปกติ
ทารกเกิด caput succedaneum, cephalhematoma
ทารกเกิดเนื้อตายของหนังศีรษะ scalp necrosis
เชิงกรานแคบที่ช่องออก (Outlet contraction)
ผลกระทบ
การคลอดศีรษะยาก
การคลอดไหล่ยาก เมื่อศีรษะคลอดออกมาได้มักมีการคลอดยากของไหล่ตามมา
พี่เย็บฉีกขาดและยึดขยายมาก
ผู้คลอดอาจถูกท้าสูติศาสตร์หัตถการ ในรายที่ศีรษะติดอยู่นาน ท่าก้น เป็นต้น
การดูแลรักษาในรายเชิงกราน แคบที่ซ่องออก ควรตัดผีเย็บ ให้กว้างพอเพื่อป้องกันการฉีก ขาด
เชิงกรานแคบทุกส่วน (Generally contracted pelvis
มีผลกระทบต่อทุกระยะของการคลอดจะท้าให้เกิดการคลอดติดขัด
เชิงกรานแตกหรือหัก (Pelvic fracture)
ผลกระทบของเชงิกรานแตกหรือหักเมื่อกระดูกหักจะมีกระดูกใหม่งอกและ หนาตัวขึ้น หรืออาจเชื่อมต่อกันแล้วไม่เข้ารูปตามเดิม จึงมีรูปร่างผิดปกติไป ไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได ้
เชิงกรานรูปรา่งผิดปกติ ผิดสัดส่วน หรือพิการ (Pelvic abnormalities)
ผลกระทบของเชงิกรานรูปร่างผิดปกต ิผิดสัดส่วน หรือพิการท้าให้ผู้คลอดไม่ สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ จา้เป็นต้องผ่าตดัคลอดทางหน้าท้อง
ความผดิปกติของเชงิกรานสว่นทเี่ป็นกล้ามเนื้อ และเอ็น (Abnormality of soft passage)
ปากช่องคลอดและฝีเย็บผิดปกต
การดูแลรักษา
2 ฝีเย็บแข็งตึงควรตัดผีเย็บให้กว้างพอ
3 ปากช่องคลอดบวมหรือมีเลือดคั่งควรผา่ตัดระบายเอาเลือดออกแล้วให้ยาปฏิชวีนะป้องกันการติดเชื้อ
1 ปากช่องคลอดตีบรายที่เกิดจากรอยแผลเป็นควรตัดผีเย็บช่วยขณะคลอดแล้วเย็บให้ภายหลังคลอด
ช่องคลอดผิดปกติ
การดูแลรักษา
2 การมผีนังกนั้ในช่องคลอดในรายที่มีผนังกนั้ไมม่ากมกัจะฉีกขาดได้เอง ส่วนรายที่ผนังหนามากไม่สามารถขาดไต้เองต้องท้าผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
3 มีถุงนา้้หรือเนื้องอก ควรเจาะเอาถุงน้้าออกจะช่วยให้คลอดได้ง่ายขึ้นกรณี
1 ช่องคลอดตีบโดยก้าเนิด สว่นใหญ่เมอื่มีแรงกดจากสว่นน้า จะสามารถคลอดทางชอ่งคลอดได้
ปากมดลูกผดิปกติ ปากมดลูกบวม มะเรง็ปากมดลูก
การดูแลรักษา
2 ปากมดลูกแข็ง ช่วยโดยใชน้ิ้วมือใส่เข้าไปในรูปากมดลูกช่วยขยายโดยรอบ
3 ปากมดลกูด้านหน้าบวม ควรจดัใหผู้้คลอด นอนตะแคง ยกปลายเตียงให้สูงขึ้น
1 ปากมดลูกตีบ ท้าผ่าตัดคลอดทางหนา้ท้อง
4.มะเร็งปากมดลูกผู้คลอดต้องผา่ตัดคลอดทางหน้าท้องทุกราย
มดลูกอยู่ผิดที่ (uterine displacement)
มดลูกคว่้าหน้า (anteflexion)
มดลูกคว่้าหลัง (retrolexion)
การดูแลรักษา
2 มดลูกคว่้าหลัง มักคลอดทางช่องคลอดไม่ได้
3 เนื้องอกของมดลูกมักท้าให้แท้งคลอดก่อนก้าหนด รกลอกตัวก่อนก้าหนด ถ้าก้อนเนื้อมีขนาดใหญ่จะท้าให้การคลอดติดขัด ควรผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
1 มดลูกคว่้าหน้า ใช้ผ้ารัดหนา้ท้องเพื่อประคองให้มดลูกอยู่ในต้าแหน่งปกติ อาจช่วยให้การคลอดด้าเนินไปตามปกติได้
กิจกรรมการพยาบาล
ตรวจการหดรัดตวัของมดลูก ทุก 30 นาที -1ชั่วโมง
ผู้คลอดที่ถงุน้้าแตก จัดให้นอนพัก บนเตียง สังเกตลักษณะ สี กลิ่นของ น้้าคร่้าหากมชีี้เทา ปนออกมาในน้้าคร่้าควรให้ออกชเิจนแก่ มารดาและจัดให้นอนตะแคงซ้าย
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ตรวจการเปิดขยายของปากมดลูก รวมทงั้การบวมของปากมดลูกและหนงั ศีรษะ ทารกดว้ย ทุก 2 ชั่วโมง
ตรวจดูการเคลื่อนต่้าและการหมุน ภายในของส่วนนำ
ติดตามความก้าวหนา้ของการคลอด ด้วย WHO partograph
ฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ทกุ 30 นาที่ และสอบถามการดิ้นของทารก ด้วย
ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะวา่งอยู่ เสมอ โดยกระตุ้นให้ปัสสาวะทุก 2 ชั่วโมง
ดูแลความสุขสบายร่างกาย และ บรรเทาความเจ็บปวด
ผู้คลอดที่กลวัและกงัวลมากควร อธิบายแผนการรักษา