Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ
โรคหัด (Measles/Rubeola)
ป้องกัน ให้ Gamma globlulin ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ภายใน5วัน หรือน้อยกว่า 6 วันหลังได้รับเชื้อ วัคซีนทำจากเชื้อมีชีวิต ควนให้เด็กอายุ ไม่ต่ำกว่า 1 ขวบ แอนตี้บอดี้จะเกิดประมาณ 12 วันหลังฉีด
การรักษา เป็นโณคที่หายเองได้ ไม่มีโรคแทรกซ้อน ไม่มีความจำเป็นให้ยา จุลชีพ ให้พักผ่อน ยาลดไข้ ถ้าติดเชื้อซ้ำต้องให้ยาจุลชีพ
โรคแทรกซ้อน สมองอักเสบ ปอดอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ เบื่อบุตาอักเสบ ลำไส้อักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
อาการนำ ไข้สูง อ่อนเพลีย ไอ น้ำมูกน้ำตาไหล เยื่อบุตาอักเสบ
ระยะออกผื่น 3-5วัน หลังจากเป็นไข้ ตาแดงจัด ผื่นเริ่มจากหลังใบหู
ระยะผื่นจางหาย 5-8วัน ไข้ลดลง และหายไป2-3 วัน อาจมรอาการไออยู่บ้าง
เชื้อไวรัส (Parayxovirus) ฟักตัว 10 วัน หลังจากได้รับเชื้อ หรือมีไข้ประมาณ 14 วัน ติดต่อ 8-12 วัน เด็กอายุ 1-7 ปีมักเป็น แต่น้อยกว่า 6 เดือนไม่พบว่าเป็นโรคหัด
โรคหัดเยอรมัน (Rubella)
เดือนที่1 พิการ 10-50% เดือนที่2 พิการ 14-25%
เดือนที่3 พิการ 6-7% หลังเดือนที่3 พิการ 0-5%
การวินิจฉัยโรค แยกเชื้อไวรัสจากน้ำมูก จากคอ เลือด ปัสสาวะ ปละน้ำไขสันหลัง แยกผู้ป่วยครบ 7 วันหลังผื่นขึ้น ติดตามตรวจเชื้อไวรัส ให้วัคซีนป้องกัน
อาการ เจ็บคอ คอแดง มีผื่ย 1-2 วัน มีไข้
37 องศา ปวดศรีษะ อ่อนเพลีย มีน้ำมูก เจ็บคอ คอแดง
มีไข้ 39 องศา วิงเวียน เบื่ออาหาร หนาวสั่น น้ำมูกไหล คอแดง
การพยาบาล แบกเด็ก เช็ดตัวลดไข้ ดูแลทั่วๆไป ผิวหนัง ตา หู ปากฟัน และจมูก ระยะมีไข้สูง ให้อาหารอ่อน สังเกตอาการแทรกซ้อนอื่นๆ
เชื้อไวรัส Rubi-virus) ฟักตัวประมาณ 14-21 วัน เฉลี่ย 16-18 วัน ติดต่อ ประมาณ 2-3 วัน ก่อนผื่นขึ้นจนไปถึง 7 วันหลังผื่นขึ้น ทารกติดเชื้อในครรภ์ เชื้อไวรัสอยู่ในลำคอ
โรคสุกใส (Chickenpox/Vericella
โรคแทรกซ้อน การติดเชื้อที่ผิวหนัง ปอดอักเสบ ข้ออักเสบ กระดูกอักเสบ เกล็ดเลือดต่ำ เลือดออกทางเดินอาหาร เลือดกำเดาไหล
การวินิจฉัย ขูดพื้นขอตุ่มใสของมาสเมียร์สไลด์ ระยะแพร่เชื้อ เริ่มจาก 24 ชม. ก่อนที่ผื่นขึ้นจนตุ่มแห้งหมดแล้ว การรักษา ยาต้านไวรัสคือ Acytlovis (Zovirax) ทั้งชนิดกินและทา ฉีดให้ 200 mg. ทุก 4ชม. เป็นเวลา 5 วัน
อาการ มีไข้ต่ำๆำร้อมกับผื่นขึ้น อ่อนเพลีย ปวดศรีษะ เบื่ออาหาร 1-2 วัน ปวดท้องเล็กน้อย เริ่มจากจุดแดงราบ ขนาด 2-3 mm. แล้วเปลี่ยนเป็นตุ่มนูน ภายใน 8-12 ชั่วโมง และตุ่มใส ต่อมาเป็นตุ่มหนอง แห้งและตกสะเก็ก Macule-papule-vesicle-pustule-crust ลักษณะเฉพาะ พบผื่นชนิดต่างๆในเวลาเดียวกัน
การพยาบาล แยกเด็กไว้จนกว่าแผลจะแห้งและตกสะเก็ดหมด ตัดเล็บมือให้สั้น ใส่ถุงมือให้เด็ก อาหารธรรมดา สังเกตุภาวะแทรกซ้อน
จากเชื้อไวรัส ขึ้นบริเวณหนังศรีษะ ใบหน้า ลำคอ และเยื่อบุช่องปากแล้วจึงลามไปที่แขนขา กระจายแบบ Centripetal ผื่นจะอยู่บริเวณลำตัว ใบหน้า มากกว่าแขนขา ระยะฟักตัว 10-21 วัน
โรคคอตีบ (Diphtheria)
อาการ มีไข้ต่ำๆคล้ายหวัด ไอเสียงก้อง เจ็บคอรุนแรง เบื่ออาหาร ต่อมน้ำเหลืองที่คอโต บางรายมีการกดทับเส้นเลือด มีอาการไข้สูง ซึม ชีพจรเบาเณ้ว มือเท้าเย็น
โรคแทรกซ้อน การอุดตันของทางเดินหายใจส่วนบน กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ เต้นเร็วหรือช้า หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ หัวใจล้มเหลว และเสียชีวิต
โรคติดเชื้อชนิดเฉียบพลัน ของระบบทางเดินหายใจเกิดการอักเสบ เชื้อไวรัส ระบาดวิทยา พบในคนเท่านั้น ในจมูก ลำคอ โดยไม่มีอาการ ติดต่อกันทาง ไอ จามรดกัน พูดคุยในระยะใกล้ชิด
การรักษา รีบนำส่งโรงพยาบาลโดยเร็ว กรให้ Diptheria Antitoxin (DAT) ต้องีบให้เร็วที่สุดเพื่อไปทำลายพิษ ให้ยาปฏิชีวนะ เพนนิซิลิน ถ้าทางเดินหายใจตีบต้องเจาะคอเพื่อช่วยให้หายใจได้ ต้องมีการพักผ่อนเต็มที่ อย่างน้อย 2-3 สัปดาห์
การป้องกัน ต้องแยกผู้ป่วยจากผู้อื่น อย่างน้อย 3 สัปดาห์หลังเริ่มมีอาการ หรือตรวจเช็คเชื้อ ผู้ใกล้ชิดผู้ป่วยสามารถติดจ่อกันได้ง่าย จึงควรติดตามดูอาการอย่างใหล้ชิด
โรคคางทูม (Mumps)
โรคแทรกซ้อน เยื้อหุ้มสมองอักเสบ หูชั้นในอักเสบ ไตอักเสบ การวินิจฉัย แยกเชื้อจากปัสสาวะและน้ำไขสันหลังไปตรวจ
การรักษา รักษาตามอาการ ให้นอนพัก ดื่มน้ำมากๆ แยกผู้ป่วย 9 วันหลังมีอาการบวมของต่อมน้ำลาย การป้องกัน ให้วัคซีนคางทูม
เป็นอาการอักเสบของต่อมน้ำลาย พบมากในเด็ก เกิดจากเชื้อไวรัสที่อยู่ในน้ำลาย หรือเสมหะ การติดต่อ เกิดจากการไอ จาม หายใจรดกัน 1-2 วัน ระยะฟักตัว 12-25 วัน อาการ ไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว อ่อนเพลีย ขากรรไกรบวมแดงปวด ร้าวไปที่ใบหูขณะกลืน