Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีความผิดปกติที่พบบ่อย - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีความผิดปกติที่พบบ่อย
การติดเชื้อในทารกแรกเกิด
การติดเชื้อในกระแสเลือดโดยติดเชื้อหลายระบบที่เกิดขึ้นในเดือนแรกของชีวิต อาจได้รับเชื้อตอนอยู่ในครรภ์ ระหว่างคลอด หลังคลอด การติดเชื้อเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญและพบบ่อยในทารกแรกเกิด
สาเหตุ
1 ติดเชื้อชนิดเริ่มเร็ว ติดเชื้อก่อนหรือว่าการคลอดแสดงอาการ 2-3 วันหลังคลอดรุนแรงเกิดขึ้นหลายระบบที่พบบ่อยได้แก่ติดเชื้อที่ปอดกระแสเลือดเชื้อสาเหตุพบทางการบวกโปรแกรมลบเชื้อระยะนี้อันตรายสูง
2 ติดเชื้อชนิดเริ่มช้า หลังคลอด 3-4 วันเป็นเชื้อชนิดเดียวกับชนิดแรกในบางเชื้อแต่ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อในโรงพยาบาลได้แอนตี้ไบโอติกนานได้รับการทำหัตถการที่เสี่ยงมักพบกับเฉพาะที่เชื้อพบบ่อยแกรมบวกแกรมลบ
ด้านทารก ติดเชื้อง่ายจากระบบป้องกันของร่างกายไม่สมบูรณ์เช่นผิวหนังเยื่อบุได้รับการทำหัตถการ
2 ด้านมารดาครรภ์เป็นพิษภาวะโภชนาการไม่ดีติดเชื้อในระบบสืบพันธุ์
อาการและอาการแสดง
1 อาการทั่วไปซึมร้องนานไม่ดูดนมไม่สบายมีไข้ตัวเย็น 2 ระบบไหลเวียนซีนตัวร้ายเป็นจั้มผิวหนังเย็นขึ้น BP drop HR เร็ว/ช้า 3 ระบบหายใจหายใจเร็วหายใจลำบาก 4ทางเดินอาหารดูดนมไม่ได้ท้องอืดอาเจียนท้องเสียหน้าทองแดงตับโตม้ามโตเลือดออกง่าย 5 ประสาทซึมกระสับกระส่ายสั่นอ่อนแรงร้องเสียงแหลม 6 ผิวหนังเหลืองมีจุดเลือดออกผื่นจ้ำเลือดตุ่มหนองผิวหนังแข็ง
การรักษา
1 การรักษาเฉพาะกรณีสระทราบชนิดเชื้อให้แอนตี้ไบโอติกตามผล sensitivity 2 การรักษาประคับประคองรักษาตามอาการ ป้องกัน hypo-hyperthermia ให้สารน้ำสารอาหารอย่างเพียงพอ ป้องกันภาวะแทรกซ้อน 3 การสร้างภูมิคุ้มกัน ให้ IVG ป้องกันการติดเชื้อ การเปลี่ยนถ่ายเลือดจะช่วยลดอัตราตายได้แต่ไม่ได้มาตรฐาน
Hypoglycemia
ความหมาย
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 40 mg ในทารกที่ไม่แสดงอาการผิดปกติ ต่ำกว่า 45 mg ในรายที่แสดงอาการผิดปกติ น้ำตาลในเลือดต่ำมีผลต่อพัฒนาการทางระบบประสาทของทารก
อาการและอาการแสดง
พบได้บ่อยมาก 1-2 ชั่วโมงได้สัปดาห์หลังคลอด มักไม่แสดงอาการ ในรายที่มีอาการมักไม่จำเพาะต้องตรวจระดับน้ำตาล ซึมไม่ดูดนมสะดุ้งผวา อาการสั่นซีดอยู่ในใจน้องเสียงแหลมเนื้อตัวอ่อนปวกเปียกตากลอกไปมาชักกระตุกเฉพาะที่หรือทั่วไปไม่รู้สึกตัวเหงื่อออกตัวเย็น
การักษา
1 ติดตาม DTX1-2 ชั่วโมงหลังคลอดได้ทุก 1-2 ชั่วโมงใน 6-8 ชั่วโมงแรกหรือจนกว่าจะปกติ ถ้าระดับน้ำตาลปกติต้องให้สารอาหารทางปากหรือสายถ้าให้ทางปากไม่ได้ให้ IVF 5% D/W หรือ 10% D/W 2 ดูแลทั่วไปรักษาภาวะที่เป็นสาเหตุติดเชื้อป้องกันการให้พลังงานเพิ่ม
น้ำตาลในเลือดสูง Hyperglycemia
น้ำตาลในเลือดสูงเกิน 125 มิลลิกรัมหรือน้อยกว่า 145 mg ในพลาสมาพบมากในเด็กคลอดก่อนกำหนด
สาเหตุ IUGR ทำให้ลดการตอบสนองของอินซูลินต่อการเปลี่ยนแปลงของระดับกลูโคส ได้รับกลูโคสมากเกินไปหรือจะผลิตกลูโคสมากกว่าปกติ
อาการและอาการแสดง มักเริ่ม 24 ชั่วโมงแรกและก่อน 3 วัน ชมีน้ำตาลในปัสสาวะมากในปัสสาวะมาก เสียน้ำและอิเล็กโทรไลต์ เสี่ยงต่อเลือดออกในสมองพบอาการทางประสาทร่วมด้วย
spina bifida
อาการและอาการแสดง spina bifida occulta รักไม่ทราบจนตลอดชีวิต Meningocele พบได้ตั้งแต่แรกเกิดเพราะมีก็นุ่มๆให้เห็นถ้าส่องไฟจะโปร่งแสงมากไม่พบความผิดปกติทางระบบประสาท Myelomeningocele แตกต่างที่มี spinal cord อยู่ในก้อนนี้ด้วยจึงมีความผิดปกติทางระบบประสาทขึ้นกับบริเวณที่เป็นเกิดบริเวณ l3 หรือเหนือขึ้นมาทำให้เกิดอัมพาตของขาส่วนล่างทั้งหมดสูญเสียประสาทสัมผัสการขับถ่ายปัสสาวะอุจจาระ อัมพาตแบบอ่อนแรงของร่างกายเป็นอาการที่ชัดเจนในในโลกนี้กระดูกสันหลังคดงอกระดูกสะโพกเบี้ยวความพิการของเท้าเพราะไม่มีเส้นประสาท มีความผิดปกติของความตึงตัวของลำไส้และกล้ามเนื้อหูรูดเสียไปท้องผูกถ่ายอุจจาระกระปิดกระปอย
ความบกพร่องในการเปิดปิดของ neural tube
การรักษา
การผ่าตัดแก้ไขและปิดบริเวณที่มีความพิการควรได้รับการ refer ไปยังโรงพยาบาลโรงพยาบาลที่มีความพร้อมในการผ่าตัดเร็วที่สุดภายใน 24-48 ชั่วโมงเพื่อลดการติดเชื้อและป้องกันความเสียหายต่อระบบประสาทและให้ยาปฏิชีวนะในช่วง 24 ชั่วโมงแรกก่อนผ่าตัดสังเกตภาวะ hydrocephalus หลังการผ่าตัดหากมีต้องทำ shunt
การพยาบาล
สวนปัสสาวะเป็นครั้งคราวบันทึกไอโอทุกวันหลีกเลี่ยงการปนเปื้อนอุจจาระปัสสาวะกับอาหารยาเหน็บหรือให้เป่ายางเพื่อกระตุ้นการถ่ายปัสสาวะอุจจาระ สังเกตอาการท้องโป่งตึงอาเจียนและการดูดกลืนน้อยลง ดูแลให้น้ำอย่างเพียงพอ
ปัญหาทางการพยาบาล
1 เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับเปลี่ยนท่าทุก 2 ชั่วโมงให้ผ่าหรือโฟมนุ่มๆลองบริเวณที่กดทับนวดผิวหนังใช้โลชั่นทาเปลี่ยนผ้าทันทีที่ขับถ่าย 2 มีความบกพร่องของการเคลื่อนไหวจากการเป็นอัมพาต 3 แบบแผนการดำเนินชีวิตของครอบครัวเปลี่ยนแปลงจากภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังของเด็กกระตุ้นให้แสดงความรู้สึกสอนการดูแลเด็กที่จำเป็น การให้คำแนะนำล่วงหน้า ส่งเสริมภาวะพัฒนาการเด็กและการประคับประคองครอบครัว
ปากแหว่งเพดานโหว่
สาเหตุ ไม่แน่นอน พันธุกรรม มะนาวขาดสารอาหารโฟเลต ติดเชื้อยาและสารเสพติดบางชนิดเช่นวิตามินเอและคอร์ติโคสเตียรอยด์
การรักษา ผ่าตัดตกแต่งริมฝีปาก ผ่าตัดเพดานเมื่ออายุ 6-18 เดือนผ่าตัดปิดชั้นเหงือกเมื่ออายุ 6-7 ปีแก้ไขใบหน้าเมื่ออายุ 13 ปีขึ้นไปแต่มักจะยึดกฎเกิน 10
หลอดอาหารตัน/หลอดอาหารมีช่องทางทะลุกับหลอดลม
สาเหตุ ไม่แน่นอน อายุครรภ์ที่ 8 ทางเดินหายใจและทางเดินอาหารแยกจากกัน
อาากรและอาการแสดง แรกเกิดมีน้ำลายฟูมปาก เมื่อให้นมจะสำนักตัวเขียว หายใจลำบาก ท้องป่อง อาการสำลักไหลย้อนเข้าจมูกและปาก ใส่สาย ng ในปากไม่ได้
การรักษา ผ่าตัดนำหลอดอาหารที่เป็นถุงตันมาเปิดที่คอเรียกว่า cervical esophagostomy เพื่อระบายน้ำลายป้องกันการสำลักสู่หลอดลมและปอด ผ่าตัดทำ gestrostomy เพื่อให้อาหาร ผ่าตัดทำหลอดอาหาร
ความผิดรูปของทวารหนักและเรคตั้มแต่กำเนิด
ความผิดปกติแต่กำเนิดของทวารหนักและลำไส้ตรงซึ่งเกิดได้หลายแบบ ภาวะที่ไม่มีรูทวาร ดูทวารหนักเปิดผิดตำแหน่ง มีรูเชื่อมต่อระหว่างส่วนปลายสุดของทวารหนักหรือเล็กตั้มกับท่อปัสสาวะ หนูทำงานหนักตีบแคบ ส่วนไปลำไส้ตีบตัน เป็นสาเหตุของลำไส้อุดตันในทารกแรกเกิดที่พบบ่อย
การรักษา
ผ่าตัดทันทีในราย ที่ไม่มีรูทวารไม่มีรูเชื่อมต่อและส่วนปลายของเล็กตั้มต้นทำให้ทารกแรกเกิดถ่ายขี้เทาไม่ได้มีอาการท้องอืดมากขึ้นถ้าไม่ได้รับการดูแลผ่าตัดรักษาทันทีอาจเกิดลำไส้แตกทะลุได้ 1 ความผิดรูปของทวารหนักและเล็กตามระดับต่ำสามารถทำการผ่าตัดรูทวารตั้งแต่ระยะแรกคลอด 2 ความผิดรูปของทวารหนักและเล็กตามระดับสูงรักษาโดยการผ่าตัดชั่วคราวรอประมาณ 2-3 เดือน
กลุ่มอาการดาวน์ซินโดม
สาเหตุ
ความผิดปกติของโครโมโซมยังไม่ทราบแน่ชัดมีปรากฏในทุกเชื้อชาติเด็กเกิดใหม่ 1000 รายจะพบเด็กดาวน์ 1 รายความผิดปกติมีอยู่ 3 ประเภทคือ โครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่งพบได้ร้อยละ 95 เปอร์เซ็นต์ โครโมโซมคู่ที่ 14 มายึดติดกับผู้ที่ 21 พบได้ร้อยละ 4 โครโมโซมทั้งปกติในคนเดียวกันได้พบได้ร้อยละ 1
การป้องกัน
กลุ่มอาการดาวน์นี้สามารถป้องกันได้โดยการวินิจฉัยก่อนคลอดปัจจุบันมักทำในหญิงตั้งครรภ์ที่อัตราเสี่ยงสูงเช่นอายุมากกว่า 15 ปีโดยแพทย์สามารถเจาะน้ำคร่ำมาตรวจดูโครโมโซมของเด็กในครรภ์ว่าผิดปกติหรือไม่หากพบความผิดปกติคู่สามีภรรยาอาจเลือกยุติการตั้งครรภ์ได้ก่อนการวินิจฉัยก่อนคลอดควรปรึกษาแพทย์เสมอ