Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.1 การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะที่ 1 และ 2 ของการคลอด - Coggle…
5.1 การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะที่ 1 และ 2 ของการคลอด
การคลอดล่าช้า หรือ การคลอดยาวนาน
สาเหตุ
Powers: poor or uncoordinated uterine action
Passenger: fetal head too large or position abnormal
Passage: pelvis abnormal, or tumor or obstruction in pelvis or birth canal.
Psychological condition: poor bearing force
แบ่งเป็น 2 ระยะ
1.Prolong first stage of labor
1.1Prolonged latent phase
1.2Prolong active phase
2.Prolong active phase
Protracted disorders
Arrest disorders
ผลกระทบ
มารดา
1.เกิดการติดเชื้อได้มากกว่าปกติ
2.เหนื่อย อ่อนเพลีย ขาดน้ำ
3.ฝีเย็บบวมและฉีกขาดง่าย
4.เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการทำสูติศาสตร์หัตถการ
5.เสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอดมากกว่าปกติ
ทารก
1.ทารกพร่องออกซิเจน
2.ทารกติดเชื้อ
3.อันตรายจากการคลอด Excessive moulding
4.ภาวะแทรกซ้อนในระยะแรกเกิด
การคลอดเฉียบพลัน
สาเหตุ
1.เนื้อเยื่อของช่องทางคลอดมีแรงเสียดทานน้อย ช่องคลอดยาน ฝีเย็บหย่อน
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อหน้าท้องรุนแรงมากผิดปกติ อาจเกิดขึ้นเองหรือจากฤทธิ์ของยา
การตั้งครรภ์หลัง
สภาพเชิงกรานกว้าง
ทารกตัวเล็ก
มีประวัติการคลอดเฉียบพลัน
มารดาไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดจากการคลอด
8.การได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกมากเกินไป
ผลกระทบ
มารดา
เกิดการฉีกขาดของช่องทางคลอด และปากมดลูกมาก
เกิดการตกเลือดหลังคลอด
การหดรัดตัวของมดลูกที่รุนแรง ร่วมกับมีการแตกของถุงน้ าคร่ า อาจท าให้เกิดภาวะน้ าคร่ าอุดกั้นหลอดเลือดในปอด (amniotic fluid embolism) ได้
ทารก
การหดรัดตัวของมดลูกอย่างรุนแรง ท าให้การไหลเวียนเลือดในมดลูกไม่ดี ท าให้ทารกเกิดการขาดออกซิเจน
ศีรษะทารกที่ผ่านเข้าในช่องทางคลอดอย่างรวดเร็ว ขาดการปรับตัวอาจท าให้ทารกเกิดการบาดเจ็บได้
ศีรษะทารกได้รับอันตรายจากการรับไม่ทัน ท าให้ทารกตกลงบนพื้น
ทารกไม่ได้รับการดูดเสมหะหรือน้ าคร่ าในปากและจมูก ท าให้ทารกส าลักน้ าคร่ าเกิดภาวะแทรกซ้อนในระบบทางเดินหายใจได้
ทารกมีเลือดออกในสมอง เนื่องจากศีรษะได้รับการกระทบกระเทือนจากการผ่านเข้าในช่องทางคลอดอย่างรวดเร็ว โดยไม่มีการปรับศีรษะให้สัมพันธ์กับช่องทางคลอดตามกลไกการคลอด
อาจเกิดการติดเชื้อ เนื่องจากไม่ได้รับการเตรียมท าความสะอาดก่อนคลอด
ทารกเสียเลือด เนื่องจากสายสะดือขาด
การหยุดชะงักของการคลอด
สาเหตุ 2 P
ทารกและช่องทางคลอดไม่ได้สัดส่วนกัน
การประเมิน Obstructed labor
1.การตรวจภายใน การเปิดของปากมดลูกที่ไม่เพิ่มขึ้น หรือมีการบวม ส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำลงมา หรือพบส่วนนำเป็น Occiput posterior หรือ Occiput Transverse ทำให้การคลอดติดขัดได้
2.สภาพของมาดา เจ็บมากทุรนทุราย อ่อนเพลีย ขาดน้ า ผิวแห้ง Pulse เร็ว มากกว่า 100 ครั้ง/นาที มีไข้
3.สภาพของทารก เช่น ส่วนน าผิดปกติ ท่าผิดปกติ แนวผิดปกติ และ FHS ที่ผิดปกติท าให้ต้องคิดถึงการคลอดยาก
4.กราฟความก้าวหน้าของการคลอดที่ผิดปกติ
5.การหดรัดตัวของมดลูกที่เคยหดรัดตัวดีแต่กลับอ่อนแรงลงไป ทั้งๆที่ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวเพียงพอ อาจเกิด
ภาวะการคลอดหยุดชะงักได้ หากให้ยากระตุ้นต่อไปจะท าให้การเกิดมดลูกแตกได้
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ควรประเมินการคลอดติดขัดเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 36 สัปดาห์ทุกราย โดยประเมิน ภาวะ CPD ประเมินการ
เคลื่อนต่ าของส่วนน าลงสู่ช่องเชิงกรานในระยะครบก าหนดคลอด ดูท่า ส่วนน า ทรง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น
ระยะคลอด
ตรวจประเมินไม่มีการเคลื่อนต่ าของส่วนน า (station) ขณะที่มดลูกหดรัดตัวปกติ ความบางและการเปิดขยาย
ของปากมดลูก ใช้ partograph ในการเฝ้าคลอด