Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Abnormality of Psychological Condition ความผิดปกติของสภาพจิตใจของผู้คลอด …
Abnormality of Psychological Condition ความผิดปกติของสภาพจิตใจของผู้คลอด
การเปลี่นแปลง
ตับหลั่งกลูโดสเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้ได้พลังงานเพียงพอต่อความต้องการที่เพิ่มขึ้น
หลอดลมขยายตัวเพื่อให้ได้รับออกซิเจนเพิ่มมากขึ้น
ต่อมใต้สมองหลั่งฮอร์โมนglucocorticoids และ mineralo coticods เพิ่มขึ้นส่งเสริมให้มีการคั่งของโซเดียมกับโปตัสเซียม และกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหลังให้หลั่ง antidiuretc hormone เพื่อเก็บน้ำใว้ในร่างกายส่วนการขับโพแทสเซียมทำให้สูญเสียระดับโปตัสเซี่ยมส่งผลให้กล้ามเนื้อมดลูกทำงานลตลง ระดับกลูโคสลดลง
Symphatetic nervous system กระตุ้นต่อมหมวกไตให้หลั่ง epinephrine และnorepinephine เพิ่มขึ้นโดย epinephrine ทำให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังทำให้กล้ามเนื้อมดลูกกระตุ้น alpha excitatary ส่วน norepinephrine ทำให้หลอดเลือดส่วนปลายหดร้ดตัวเลือดไปเลี้ยงมดลูดลดลง ส่งผลให้เกิดการยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูด
หลั่ง catecholamine เพิ่มขึ้น ส่งผลให้เกิดความตรึงเครียดทางร่างกายเพิ่มขึ้นจึงทำให้กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวไม่ดีเกิดการคลอดยาวนานตามมาได้
สาเหตุ
ความผิดปกติของสภาพจิตใจเกิดจากการมีประสบการณ์การคลอดที่ไม่ดี การรับรู้ต่อปัญหาของตนเองไม่ถูกต้อง เผชิญปัญหาไม่ถูกต้อง มีปัญหาความสัมพันธ์กับบุคคลในครอบครัว และตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์เป็นต้น
ผลกระทบ
ผลระยะยาว
มีการคั่งของน้ำและโซเดียมขับโพแทสเซียมที่ไตเพิ่มขึ้น
เพิ่มปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจและความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
ปริมาณน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้น
มีการสลายโปรตีนและไขมันเพื่อเปลี่ยนเป็นพลังงานมากขึ้น
ผลระยะสั้น
หัวใจเต้นเร็วขึ้น
ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
ตับหลั่งกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือดเพิ่มขึ้น
หลอดลมขยายมากขึ้น
5 ระบนทางดินอาหารทำงานลดลง
ปัสสาวะลดลง
7: ระบบไหลเวียนของเลือดเปลี่ยนแปลง
ผลต่อการคลอด
การทำงานของกล้ามเนื้อมดลูกลดลง
ระดับกลูโคสลดลง ทำให้การทำงานของกล้ามเนื้อลดลง
ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น หลอดเลือดส่วนปลายหดรัดตัว หลอดเลือดไปเลี้ยงมดลูกลดลง
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกลดลงเนื่องจากระดับกลูโคสลดลง
การพยาบาล
1 จัดสิ่งแวดล้อมที่ลดสิ่งกระตุ้นความไม่สบายใจ
2 การสร้างสัมพันธภาพกับผู้คลอด
3 ประคองด้านจิตใจโดยการให้การพยาบาลอย่างเป็นมิตร
4 ส่งเสริมด้านจิตสังคมในระยะปากมดลูกเปิดช้าโดยการประเมินความวิตกกังวล
5 ส่งเสริมด้านจิตสังคมในระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
6 ให้ข้อมูลต่างๆเพื่อ ให้ผู้คลอดลดความวิตกกังวลหรือกลัว
7 เปิดโอกาสให้ซักถามสนใจรับฟังข้อซักถาม
8 อธิบายเกี่ยวกับแผนการรักษาที่ได้รับ
9 อธิบายสิ่งที่จะทำก่อนให้การพยาบาลทุกครั้ง
10 ความก้าวหน้าของการคลอดภาวะสุขภาพ เพื่อคลายความวิตกกังวล
11 อธิบายเหตุผลของภาวะมดลูกหดรัดตัวผิดปกติเพื่อให้ผู้เข้าใจ
12 สอนวิธีการบรรเทาปวดด้วยวิธีต่างๆที่ไม่ต้องใช้ยา
13 เปิดโอกาสให้สามีและญาติเข้ามาอยู่เป็นเพื่อนให้กำลังใจ