Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ - Coggle Diagram
บทที่ 5 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ
โรคหัด
(Measles/Rubeola)
เชื้อไวรัส (Parayxovirus)
ตลอดทั้งปี วัยเด็กมักเป็นโรคหัดอายุ 1-7 ปี อายุน้อยกว่า 6 เดือนไม่พบว่าเป็นโรคหัด
อาการ
Koplick’s spot ลักษณะเม็ด ขาวเล็กๆขนาดเท่าหัวเข็มหมุดบนเยื่อบุกระพุ้งแก้มที่แดงจัด
ไข้สูง อ่อนเพลีย ไอ น้้ามูกน้้าตาไหล เยื่อบุตาอักเสบ กลัวแสง
ระยะออกผื่น
ประมาณ 3-5 วัน หลังจากเป็นไข้
เป็นโรคที่หายได้เอง ไม่มีโรคแทรกซ้อน
การให้ภูมิคุ้มกันที่สามารถป้องกันโรคหัดได้ทันที ฺ BCG
โรคหัดเยอรมัน (Rubella)
สตรีตั้งครรภ์เป็นโรคหัดเยอรมันใน ระยะเริ่มตั้งครรภ์ได้ 3-4 เดือน เชื้อไวรัสผ่านไปทารกในครรภ์ ท้าให้เกิดความ พิการทางหู ตา หัวใจ สมอง
เจ็บคอ, คอแดงเล็กน้อย, มีผื่นอย่างน้อย 1-2 วัน
แยกเชื้อไวรัสจากน้้ามูก swab จากคอ เลือด ปัสสาวะ และน้้าไขสันหลัง
การแยกเด็กแบบ Respiratory Isolation
โรคสุกใส
Chickenpox
ขึ้น บริเวณหนังศีรษะ ใบหน้า คอ และเยื่อบุช่องปากก่อนแล้วจึงลามไปที่แขนขา
กระจายแบบ Centripetal
เริ่มจากจุดแดงราบ (macule) ขนาด 2-3 mm. แล้ว เปลี่ยนเป็นตุ่มนูน (papule) อย่างรวดเร็วภายใน 8-12 ชั่วโมง และ ตุ่มน้้าใส (vesicle) ต่อมาเป็นตุ่มหนอง (pustule) แห้งตกสะเก็ด (crust)
Macule - papule - vesicle - pustule - crust
Raye’s syndrome เป็นกลุ่มอาการที่มีผลกระทบต่อทุกอวัยวะในร่างกายโดยเฉพาะอย่างยิ่งสมองและตับของผู้ป่วยที่มีการเปลี่ยนแปลงพยาธิสภาพมากที่สุด
ควรให้ผู้ป่วยอยู่ในห้องแยก strict isolation ควรหยุด
เรียน
โรคคอตีบ
(Diphtheria)
โรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบทางเดินหายใจ เกิดการอักเสบ มีแผ่นเยื่อใน
ล้าคอ มีการตีบตันของทางเดินหายใจ
คอบวม “Bullneck”
ต้องมีการแยกผู้ป่วยจากผู้อื่น อย่างน้อย 3 สัปดาห์ หลังเริ่มมี อาการ
ให้วัคซีนป้องกันคอตีบ 4 ครั้ง เมื่ออายุ 2,4,6,18 เดือน
โรคคางทูม
(Mumps)
เป็นการอักเสบของต่อมน้้าลาย (Parotid gland)
แยกเชื้อไวรัสจาก Throat washing จากปัสสาวะและ
น้้าไขสันหลัง
แยกผู้ป่วย 9 วัน หลังเริ่มมีอาการบวมของต่อมน้้าลาย
ให้วัคซีนป้องกันคางทูม
วัณโรค
(Tuberculosis)
เป็นโรคติดต่อเรื้อรัง ท้าให้มีการอักเสบในปอด
การทดสอบทูเบอร์คูลิน ได้ผลบวก
วัคซีน BCG
1-6 เดือนต่อมา ต่อมน้้าเหลืองโต ปอด อวัยวะอื่นๆ
ระยะแรกไม่แสดงอาการ
o TT (PPD test) : positive (2-10 สัปดาห์)
โรคไข้เลือดออกเดงกี่
Dengue hemorrhagic fever
การดำเนินโรค
ระยะไข้สูง (Febrile stage)
ส่วนใหญ่ไข้สูงลอย
T>38.5 ºC (2-7 วัน)
มักมีหน้าแดง ส่วนใหญ่ไม่มีน้้ามูกไหลหรือไอ
อาจปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา
ระยะวิกฤตหรือช็อก (Critical stage)
อาการกระสับกระส่าย มือเท้าเย็น pulse pressure
เป็นระยะที่มีการรั่วของพลาสมา ซึ่งพบทุกราย โดยระยะรั่ว 24-48 ชั่วโมง
รุนแรง มีการไหลเวียนล้มเหลว จากพลาสมารั่วไปช่องเยื่อหุ้มปอด/ช่องท้อง
มาก เกิดภาวะช็อก (Hypovolemic shock)
ระยะฟื้นตัว (Convalescent stage)
ผู้ป่วยที่ไม่ช็อก เมื่อไข้ลงก็จะดีขึ้น
ผู้ป่วยช็อก รักษาถูกต้อง เมื่อการรั่วของพลาสมามาหยุด
อาการดีชัดเจน อาจพบหัวใจเต้นช้า (Bradycardia)
การพยาบาล
อาการแน่นอึดอัดท้อง เจ็บชายโครงขวา ตับโต ให้นอนศีรษะสูง
เกร็ดเลือดต่้า ระมัดระวังการเกิดการบาดเจ็บ
การขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ห้ามสวน
เอดส์ในเด็ก
HIV / AIDS
โรคที่เกิดภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือเสื่อมไป
เพราะถูกท้าลายโดยเชื้อไวรัสที่เรียกว่า HIV
ประมาณ 2-3 เดือน แสดงอาการภายใน 5 ปี
การติดต่อ
จากแม่สู่ลูก
การได้รับเชื้อ ได้รับเลือด
การมีเพศสัมพันธ์
เอดส์ในเด็กมีอาการของ Major sign อย่างน้อย 2 ข้อ และ Minor
sign อย่างน้อย 2 ข้อ
Major sign
น้้าหนักลด
ท้องร่วงเรื้อรัง มากกว่า 1 เดือน
มีไข้เรื้อรัง มากกว่า 1 เดือน
มีการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจบ่อยๆ
Minor sign
ต่อมน้้าเหลืองทั่วไปโต
ปากเป็นแผล
มีการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจบ่อยๆ
ไอเรื้อรัง
ผิวหนังอักเสบทั่วไป
แม่เป็นเอดส
ให้ BCG และ IPV แทน OPV * ไม่ให้ทั้งสองชนิด (ACIP)
โรคมือเท้าปาก
(Hand Foot Mouth Disease)
เริ่มจากการมีไข้ต่้าๆ เจ็บคอ มีผื่น
ดูจากอาการและอาการแสดง ตรวจร่างกายพบรอยโรคบริเวณมือ เท้า ปาก
ร่วมกับไข้
การสัมผัสโดยตรงตรงกับสารคัดหลั่งจากจมูก, ล้าคอ และน้้าจากในตุ่มใส
รักษาแบบประคับประคองและบรรเทาอาการ หากไม่มีภาวะแทรกซ้อน เป็น
โรคที่สามารถหายเองได้เอง โดยใช้ระยะเวลาประมาณ 7 วัน
โรคแผลพุพอง (Impetigo)
การดูแลแผล โดยการท้าแผลด้วยน้้าเกลือท้าแผล
การก้าจัดเชื้อโรค คือ การทานยาปฏิชีวนะ
ล้างมือให้สะอาดบ่อยๆและทุกครั้งที่สัมผัสแผล
โรคเซลล์เนื้อเยื่ออักเสบ (Cellulitis)
จากเชื้อแบคทีเรีย staphylococcus หรือ streptococcus และไม่
เป็นโรคติดต่อ
มีผื่นที่ผิวหนังในทันทีทันใดและกระจายไปยังส่วนต่างๆอย่างรวดเร็วภายใน
24 ชั่วโมง
เซลล์เนื้อเยื่ออักเสบสามารถรักษาให้หายได้โดยทานยาปฏิชีวนะเป็น
เวลา 10-14 วัน
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อรา
โรคกลากที่ขาหนีบ (tinea cruris)
พบบ่อยในผู้ชาย โดยเฉพาะบริเวณขา
หนีบและต้นขา, มักไม่เป็นที่บริเวณอัณฑะ
โรค Candidiasis
เป็นโรคผิวหนังที่เกิดจากการติดเชื้อราในกลุ่ม genus candida พบบ่อยมาก
ในเด็ก ซึ่งเป็นเชื้อประจ้าถิ่น
โรคหิด (scabies)
นนูนแดงขนาดเล็ก หรือตุ่มน้้าใส ขนาดเล็ก