Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พัฒนาการของระบบต่างๆของทารกในครรภ์ - Coggle Diagram
พัฒนาการของระบบต่างๆของทารกในครรภ์
ระบบการไหลเวียนโลหิต
ทารกในครรภ์ประมาณสัปดาห์ที่ 3 เริ่มมีการแลกเปลี่ยน
สารอาหารระหว่างเลือดของตัวอ่อน และเลือดของมารดาผ่าน chorionic villi
การไหลเวียนโลหิตของทารกในครรภ์แตกต่างจากการไหลเวียนของทารกหลังคลอดหลายอย่างระหว่างอยู่ในครรภ์
มารดา ทารกได้รับออกซิเจนจากการเปลี่ยนที่รกไม่ใช่ที่ปอดส่วนเลือดที่ไหลผ่านปอดเพื่อนำไปเลี้ยงเซลของปอด ไม่ใช่ให้ปอดทำหน้าที่แลกเปลี่ยนก๊าซ
ระบบประสาท
ระบบประสาท จะเจริญมากในระยะแรก (สัปดาห์ที่ 3 – 4) ของการตั้งครรภ์ในขณะที่สตรีก็ยังไม่แน่ใจว่าตนตั้งครรภ์
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ประมาณสัปดาห์ที่ 12 มีปัสสาวะเกิดขึ้น ประมาณสัปดาห์ที่ 16 มี
การหลั่งของปัสสาวะมาผสมอยู่ในน้ าหล่อเด็ก
ระบบสืบพันธุ์
ประมาณสัปดาห์ที่ 6 มีพัฒนาการของต่อมเพศ อายุครรภ์ 3 เดือน เริ่มแยกเพศได้
ระบบภูมิคุ้มกันโรค
ระบบภูมิคุ้มกันของทารกพัฒนาจนสามารถทำงานได้ตั้งแต่อายุครรภ์
เพียง 13 สัปดาห์ ในระยะแรกๆ ของการพัฒนา พบ lymphocytesในตับตั้งแต่อายุครรภ์เพียง 9 สัปดาห์
พบในเลือดและม้ามตั้งแต่อายุครรภ์ 12 สัปดาห์ พบ T lymphocytes ในธัยมัสตั้งแต่อายุครรภ์ราว 14 สัปดาห์
ในกระแสเลือดของทารกจะมีเพียง lgG ซึ่งผ่านรกมาจากแม่ Antibody ในทารกแรกคลอด
การเจริญเติบโตของรก สายสะดือ เยื่อหุ้มเด็ก และน้้าหล่อเด็ก
รก (Placenta)
4) สร้างฮอร์โมน (hormone production) ท าหน้าที่คล้ายกับเป็นต่อมไร้ท่อชั่วคราวในมดลูกซึ่งสามารถผลิตฮอร์โมนมากมายที่จ าเป็นระหว่างตั้งครรภ์ฮอร์โมนที่ส าคัญได้แก่ ฮอร์โมนเอสโตรเจน และโปรเจสเทอโรน
5) ป้องกันอันตราย ( protection) รกเป็นโครงสร้างที่ขัดขวางไม่ให้สารหรือmicroorganism บางอย่างผ่านเข้าไปท าอันตรายต่อลูกอ่อน
3) ขับถ่ายของเสีย (excretion) รกทำหน้าที่คล้ายกับไต คือ เป็นที่ขับถ่ายของเสียที่เกิดจากกระบวนการเมตาโบลิซึมของทารก
2) หายใจ (respiration) รกเปรียบเสมือนปอด คือ เป็นจุดแลกเปลี่ยนออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ระหว่างแม่กับทารกในครรภ์
1) แลกเปลี่ยนสารอาหารจากแม่สู่ลูกในท้อง (nutrition) โดยเลือดลูกกับแม่จะไม่ผสมกัน แต่มีการแลกเปลี่ยนสารต่างๆระหว่างกัน
6) เป็นแหล่งเมตาโบไลต์สารบางอย่าง เช่น แอนติบอดี (antibody) หรือยาบางอย่างที่ได้รับจากแม่จะถูกรกปรับเปลี่ยนให้อยู่ในรูปแบบที่ไม่เป็นอันตราย
สายสะดือ(Umbilical cord)
เป็นเนื้อเยื่อที่เชื่อมต่อระหว่างรกในผนังมดลูกของมารดากับหน้าท้องของเด็กสายสะดือจะประกอบไปด้วยเส้นเลือด 3 เส้น คือ เส้นเลือดด าเส้นใหญ่จะมีหน้าที่ส่งอาหารและออกซิเจนไปสู่ทารกในครรภ์ ส่วนอีก 2 เส้นจะเป็นเส้นเลือดแดงะมีหน้าที่ส่งอาหารและออกซิเจนไปสู่ทารกในครรภ์ ส่วนอีก 2 เส้นจะเป็นเส้นเลือดแดง มีหน้าที่ น้ำของเสียออกจากร่างกายของทารกมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1-2 เซนติเมตร และจะมีความยาวประมาณ 50 เซนติเมตร อาจจะสั้นหรือยาวกว่านี้ก็ได้
น้้าหล่อเด็ก (Amniotic fluid)
น้ำหล่อเด็กบางครั้งเรียก น้ำทูนหัวทารก เป็นของเหลวที่อยู่ในถุงน้้ำคร่ำ/ถุงที่เป็นที่อยู่ของทารกในครรภ์โดยน้ าคร่ำจะอยู่รอบ ๆตัวทารก ทารกจะ
ลอยตัวอยู่ในน้ำคร่ำในถุงน้ำาคร่ำดยน้ าคร่ านี้จะท าหน้าที่เป็นเกราะป้องกันการกระทบกระเทือนต่อทารกทำให้ทารกเคลื่อนไหวน้ำคร่ำนี้