Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กาารพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีความผิดปกติที่พบบ่อย - Coggle Diagram
กาารพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีความผิดปกติที่พบบ่อย
ความหมาย
ทารกแรกเกิด หมายถึง ระยะเวลาตั้งแต่คลอดจากครรภ์มารดาจนถึง 28 วันโดยคลอดเมื่ออายุครบกำหนด
ทารกเกิดก่อนกำหนด เป็นทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อยซึ่งหมายถึงทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์โดยไม่คำนึงถึงน้ำหนักตัว
ทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยง หมายถึง ทารกแรกเกิดที่มีโอกาสหรือความไวสูงต่อการเจ็บป่วยพิการหรือตายทารกและครอบครัวต้องการดูแลอย่างใกล้ชิดจากแพทย์พยาบาลนับตั้งแต่ผู้อยู่ในครรภ์ระยะคลอดหลังคลอดจนถึงอายุ 28 วัน
ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย หมายถึง ทารกที่เกิดมีน้ำหนักตัวน้อยต่ำกว่า 2500 กรัมซึ่งอาจจะเป็นทารกเกิดก่อนกำหนดครบกำหนดหรือหลังครบกำหนดก็ได้
การจำแนกประเภทของทารกแรกเกิด
1 จำแนกตามน้ำหนักแรกเกิดทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยปกติมาก
2 จำแนกตามอายุในครรภ์ทารกแรกเกิดก่อนกำหนดครบและหลังกำหนด
3 จำแนกตามน้ำหนักและเกิดและอายุในครรภ์โดยนำน้ำหนักได้เกิดและอายุในครรภ์เทียบกับ lntra uterine growth curve
3.1 ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่าอายุในครรภ์
3.2 ทารกแรกเกิดน้ำหนักเหมาะสมกับอายุในครรภ์
3.3 ทารกแรกเกิดน้ำหนักมากกว่าอายุในครรภ์
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์มี 2 รูปแบบ
1 การเจริญเติบโตทางโครงสร้าง
2 การพัฒนาการเกี่ยวกับระบบการทำงานต่างๆ
1 กรรมพันธุ์
2 สิ่งแวดล้อม
3 ภาวะโภชนาการ
4 การปฏิบัติตนของมารดาระหว่างตั้งครรภ์
ภาวะหายใจลำบากจากการขาดสารอาหาร
อาการและอาการแสดง หายใจเร็วมากกว่า 60 ครั้งต่อนาที หายใจลำบาก เขียวพบหลังคลอดไม่เกิน 6 ชั่วโมง หารูปมีปีกจมูกมีการใช้กล้ามเนื้อหายใจ เสียงกลั้นหายใจในระยะหายใจออก มีเสียงคราง มีลักษณะการหายใจไม่สัมพันธ์กันระหว่างส่งอกและหน้าท้อง เสียงหายใจลดลงมีหยุดหายใจ
การรักษา ควบคุมอุณหภูมิทารกเพื่อลดการใช้ออกซิเจน ให้ออกซิเจนโดยรักษาระดับออกซิเจนให้อยู่ระดับ 50 ถึง 70 มิลลิเมตรปรอท ระดับ PaCO2 40-50 มิลลิเมตรปรอท งดน้ำและอาหาร 48 ชั่วโมงแรกการให้สารอาหาร ให้เลื่อนรักษาเองมาตรา 40 ถึง 45 เปอร์เซ็นต์ การให้ยาแอนตี้ไบโอติกกรณีปอดอักเสบ ให้ใช้เครื่องช่วยหายใจป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นเช่น PDA BPD Pneumothorax
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ Hypothemia
ภาวะภูมิกายต่ำ หมายถึง คุณภูมิที่วัดทางทวารหนักหรือรักแร้ต่ำกว่า 36.5 องศาหรือที่วัดจากผิวหนังของลำตัวต่ำกว่า 36 องศา อุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 37.2 อุณหภูมิปกติ 36.5 ถึง 37.5
กลไกการสูญเสียความร้อน
การนำเกิดขึ้นเมื่อทารกสัมผัสกับวัตถุที่เย็นโดยตรง
การพาเกิดขึ้นเมื่อมีลมเย็นพัดผ่านรอบๆตัวทารก
การแผ่รังสีเมื่อทารกอยู่ใกล้แต่ไม่ได้สัมผัสกับวัตถุที่เย็นโดยตรงทารกจะแผ่ความร้อนไปที่วัตถุที่ใกล้ที่สุด
การป้องกัน ป้องกันการสูญเสียความร้อนทันทีหลังคลอดของอุณหภูมิผิวหนังไว้ที่ 36.5 องศาเซลเซียส ปรับอุณหภูมิห้องคลอดสูงกว่า 25 เช็ดตัวให้แห้ง ขอศีรษะทารกสวมหมวก เคลื่อนย้ายเด็กควรใช้ถ้าคุณหนูหนาอุ่นห่ม on radiant warmer กรณีต้องการให้ความอบอุ่นอย่างรวดเร็ว
กลุ่มอาการสูดสำลักขี้เทา
หมายถึง กลุ่มอาการหายใจลําบากเกิดจากทารกสูดสำลักขี้เทาปนอยู่ในน้ำคร่ำเข้าไปในทางเดินหายใจอาจเกิดขณะอยู่ในครรภ์
อาการและอาการแสดง มักเป็นเด็กคลอดก่อนกำหนด ผิวเล็บและสะดือมีสีเหลืองปนเขียวของขี้เถ้า ปลายมือปลายเท้าเขียว หน้าอกโป่งหรืออกถัง หายใจเร็วปุ๋มปีกจมูกบาน ฟังปอดมีเสียง crepitation rhonchi อาจพบ pneumothorax
การรักษา ระยะแรกในห้องคลอด เราขอดูที่เท้าและน้ำคร่ำออกจากปากและจมูกมากที่สุดก่อนทารกหายใจครั้งแรกเพื่อลด aspiration ไม่หายใจหายใจผิดปกติใส่เอ็นดูที่เขียนคิ้วและ suction โดยใส่สาย suction ถ้าดูดไม่ออกให้ใช้ meconium aspirator แล้วค่อยๆเลื่อนสายท่อออก หายใจดีและอาการคงที่ใส่ OG ดูดน้ำคร่ำแล้วขี้เทาออกจากกระเพาะและขี้เถ้าให้หมดเพื่อป้องกันทารกอาเจียนและสำลักขี้เทาอีก
ระยะหลังในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิด ให้ออกซิเจนอยู่ระหว่าง 80 ถึง 100 มิลลิเมตรปรอท ให้แอนตี้ไบโอติก รักษาด้วย CPAP ให้สาร SURFACTANT
โรคปอดเรื้อรัง
หมายถึง โรคปอดเรื้อรังในทารกซึ่งเกิดตามหลังใช้เครื่องช่วยหายใจและออกซิเจนความเข้มข้นสูงนาน 28 วันทำให้ทารกอย่าเอาจิตใจไม่ได้
สาเหตุ พี่ของออกซิเจนบวกบาดแผลจากแรงด้านบวกระยะเวลาบวกสภาวะของทารกเท่ากับ bpd พิษของออกซิเจนการสัมผัสกับออกซิเจนเป็นเวลานานและความเข้มข้นสูงๆส่วนใหญ่เกิดจากเยื่อบุหลอดลมทำให้ cilia ทำงานได้ไม่ดี 2 บาดแผลจากแรงดันมีผลต่อเนื้อปอดโดยเฉพาะปอดที่แข็งและไม่ยืดหยุ่นทำให้ปอดขยายตัวมากกว่าปกติและถุงลมแตก
อาการและอาการแสดง Wean off ventilater ไม่ได้ ทารกต้องการออกซิเจนนาน 28 วันหรือมากกว่า 30 วัน ทารกหายใจเร็วหายใจลำบาก ฟังlung พบ wheezing ท้องอืดอาเจียนหลังให้นมหรือภาวะสำรอกอาหาร ถ้ารุนแรงเขียวเป็นระยะจากหลอดลมหดเกร็ง
การรักษา 1 ป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายกับหลอดมากและเร่งให้มีการซ่อมแซมพยาธิสภาพที่ปอด 2 ให้มีการแลกเปลี่ยนแก๊สที่ปอดดีขึ้น 3 ส่งเสริมภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตของผู้ป่วย
ทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลือง
ภาวะที่ทารกมีค่าบิลิรูบินในเลือดสูงกว่าปกติเริ่มเหลืองเมื่อ BM น้อยกว่า 5 mg/dlเริ่มเหลืองจากใบหน้าเข้าหาลำตัวสูงแขนขาฝ่ามือฝ่าเท้า
กลุ่มทารกแรกเกิดที่มีความเสี่ยงสูง
1 ทารกที่มีตัวเหลืองภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด 2 ทารกที่มีตัวเหลืองให้เห็นได้ก่อนกลับบ้าน 3 ทารกที่มีพี่ตัวเหลือง 4ทารกที่มีอายุครรภ์ 35 ถึง 37 สัปดาห์5ทารกที่ได้รับนมมารดาเพียงอย่างเดียว 6 ทารกที่มีรอยพกช้ำ 7 ทารกพี่ชาย
อาการและอาการแสดง1อาการตัวเหลือง2 มีรอยจ้ำเลือดตามตัว 3 ซึมถ้าระดับบิลิรูบินสูงมากๆตับหรือม้ามโต
การรักษา 1 การรักษาทั่วไปให้ทารกได้น้ำและพลังงานเพียงพอเพื่อให้ถ่ายขี้เทาและปัสสาวะได้ดี 2 การส่องไฟแสงไฟจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างของโมเลกุลของ bilirubin ทำให้เกิดปกติละลายน้ำไม่ได้ให้กับกลายมาเป็นสารที่ละลายน้ำได้สามารถขับถ่ายสารนี้ได้ทางปัสสาวะและอุจจาระออกมาทางน้ำดี
การพยาบาล1ใช้ไฟแสงสีฟ้าขนาด 20 วัตต์ 10 หลอด 8 ถึง 10 หลอด2 วางสูงจากลำตัว 30 ถึง 45 cm 3 ปิดตาด้วยกระดาษทึบแสงห่อด้วยผ้าก๊อต 4 สังเกตผลข้างเคียง 5 สังเกตผลข้างเคียงของอาการส่องไฟ 6 เปลี่ยนท่าทุก 2 ชั่วโมง
Birth Asphyxia
ภาวะขาดออกซิเจนหลังคลอดอากาศสกอร์ต่ำกว่า 7 ที่ 1 นาทีและ 5 นาทีมันต้องช่วยหายใจนานเกิน 2-3 นาที
ภาวะลำไส้เน่า
มักพบในทารกคลอดก่อนกำหนดน้ำหนักตัวน้อย มีปัจจัยเสี่ยงระหว่างมารดาตั้งครรภ์ขณะคลอดหลังคลอด ส่วนใหญ่เกิดหลังจากได้รับนมแล้วระหว่าง 7-14 วันหรือนานกว่านั้น
อาการและอาการแสดง 1 ท้องอืดกินนมไม่ได้หรือมีนมเหลือค้างอยู่ในกระเพาะอาหารบ่อยๆ 2 อาเจียนเป็นสีน้ำดี 3 มีเลือดออกในทางเดินอาหาร
พบที่ลำไส้เล็กส่วนปลายลำไส้ใหญ่บ่อยที่สุด ปัจจัยเสี่ยงระหว่างมารดาตั้งครรภ์หลังคลอด ทารกคลอดก่อนกำหนดน้ำหนักตัวน้อย
การแบ่งระยะของโรคลำไส้อักเสบเน่าตาย
ระยะที่ 1 สงสัยว่าจะเป็น NEC
ระยะที่ 2 เป็น NEC แน่นอน
ระยะที่ 3 เป็น NEC รุนแรง