Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.4 การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับการทำสูติศาสตร์หัตถการ - Coggle Diagram
5.4 การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับการทำสูติศาสตร์หัตถการ
การชักนำการคลอด
ชนิด
1.การชักนำการคลอดแบบมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์
2.แบบไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์แต่เพื่อความสะดวกของผู้คลอด
ข้อบ่งชี้
มารดา
1.ความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
2.ภาวะครรภ์เกินกำหนด
3.ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์
4.ภาวะติดเชื้อในน้ำคร่ำ
5.ภาวะน้ำคร่ำน้อย
6.ภาวะรกลอกตะวก่อนกำหนด
7.ภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรมของมารดา เช่น โรคเบาหวาน โรคหัวใจ
ทารก
1.ทารกตายในครรภ์
2.มีประวัติทารกตายในครรภ์โดยไม่ทราบสาเหตุ
3.ทารกพิการไม่สามารภมีชีวิตอยู่ได้
4.ทารกมีหมู่เลือด Rh ไม่เข้ากับมารดา
5.ทารกในครรภ์สุขภาพไม่แข็งแรง
ข้อห้าม
มารดา
1.ส่วนนำทารกกับเชิงกรานไม่ได้สัดส่วนกัน
2.เคยได้รับการผ่าตัดที่มดลูก
3.ภาวะรกเกาะต่ำ
4.ภาวะสายสะดือย้อย
5.ภาวะเส้นเลือดทอดต่ำผ่านปากมดลูก
6.ครรภ์แฝด
7.ผ่านการคลอดมาแล้ว 5 ครั้งขึ้นไป
8.ติดเชื้อที่ช่องทางคลอด
9.ก้อนเนื้องอกที่ช่องเชิงกรานขัดขวางทางคลอด
ทารก
1.ทารกอยู่ในภาวะ fetal distress
2.ท่าของทารกผิดปกติ
วิธีการชักนำการคลอด
ใช้ยา
Oxytocin
เป็ นฮอร์โมนที่สกดั จากต่อมใตส้ มองส่วน
หลัง มีคุณสมบัติท าให้แคลเซียมไอออนเคลื่อนเข้าเซลลส์ ่งผลใหก้ ลา้ มเน้ือมดลูกหดรัดตัว
การพยาบาล
1.อธิบายวัตถุประสงค์ของการใช้ยา
2.เตรียมยาให้ถูกต้องตามแผนการรักษา
3.เฝ้าคลอดอย่างใกล้ชิด และปรับขนาดครั้งละ 4-5 หยดทุก 30 นาที จนกว่ามดลูดจะหดรัดตัว
4.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและอัตราการเต้นของหัวใจทารกทุก 30 นาที
5.ตรวจภายในเพื่อประเมินความก้าวหน้าของการคลอดเป็นระยะๆ ทุก 2-4 ชม.
prostaglandin
วิธีทางศัลยกรรม
1.การเลาะแยกถุงน้ำคร่ำ
2.การเจาะถุงน้ำคร่ำ
ภาวะแทรกซ้อน
1.สายสะดือย้อย
2.ติดเชื้อในโพรงมดลูก
3.ภาวะน้ำคร่ำอุดตันในเส้นเลือด
การพยาบาล
1.อธิบายวิธีการเจาะถุงน้ำคร่ำอย่างคร่าวๆ
2.ประเมินการเต้นของหัวใจทารกก่อนเจาะถุงน้ำคร่ำ
3.จัดท่าให้ผู้คลอดนอนใในท่านอนหงายชันเข่า
4.ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารก การหดรัดตัวของมดลูกหลังเจาะ
5.สังเกตลักษณะ สี กลิ่น และปริมาณของน้ำคร่ำ
การช่วยคลอดท่าก้น
สาเหตุ
1.คลอดก่อนกำหนดเนื่องจากปริมาณน้ำคร่ำมาก
2.ครรภ์หลังเนื่องจากผนังหน้าท้องหย่อน
3.ครรภ์แฝด
4.มดลูกผิดปกติ
5.รกเกาะต่ำ
6.เนื้องอกของอวัยวะในอุ้งเชิงกราน
7.กระดูกเชิงกรานแคบ
8.ทารกโตช้าในครรภ์
ชนิดของท่าก้น
1.ท่าก้นชนิดสมบูรณ์
ทารกจะอยู่ในท่างอสะโพกและงอเข่าทั้งสองข้าง
2.ท่าก้นชนิดไม่สมบูรณ์
2.1 Single footling คือ มีเท้าข้างหนึ่งยื่นลงมา
2.2 Double footling คือ มีเท้า 2 ข้างเหยียดยื่นลงมา
2.3 Knee presentation คือ ตน้ ขาเหยยี ดแต่งอที่เข่าทาใหเ้ ข่าเป็ นส่วนที่ลงมาก่อน
วิธีการช่วยคลอดท่าก้น
ทางช่องคลอด
1.2 Partial breech extraction ( breech assisting )
1.3 Total breech extraction
1.1Spontaneous breech delivery
ผ่าท้องคลอด
การช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสูญญากาศ
ข้อบ่งชี้
ด้านมารดา
1.การคลอดระยะที่ 2 ยาวนาน
2.มารดามีโรคร่วมที่ไม่ควรออกแรงเบ่งคลอด
ทารก
1.การหมุนของศรีษะทารกผิดปกติ
2.ทารกอยู่ในภาวะ fetal distrese ที่ไม่รุนแรง
ข้อห้าม
1.ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
2.ภาวะผิดสัดส่วนระหว่าศรีษะทารกกับช่องเชิงกราน
3.ทารกไม่ครบกำหนด
4.มีการพลัดต่ำของสายสะดือ
5.ทารกอยู่ในภาวะคับขัน
6.ทารกมีขนาดใหญ่
การพยาบาล
1.ฟังเสียงหัวใจทารกทุกครั้งที่มดลูกคลายตัว
2.เมื่อแพทย์ใส่ถ้วยสุญญากาศในตำแหน่งที่เหมาะสมแล้ว พยาบาลจะช่วยต่อสายยางกับกระบอกสุญญากาศและช่วยจับเวลาให้แพทย์ทุก 2 นาที ขณะที่แพทย์ลดความดันสุญญากาศลงทีละ 0.2 กก./ซม. จนความดันลดลงครบ 0.6-0.8 จึงรายงานให้แพทย์ทราบ เพื่อจะได้ดึงถ้วยสุญญากาศพร้อมกับการหดรัดตัวของมดลูก
3.ตรวจสอบการหดรัดตัวของมดลูกเป็นระยะ ปละรายงานให้แพทย์ทราบเพื่อแพทย์จะได้ดึงถ้วยสุญญกาศพร้อมกับการหดรัดตัวของมดลูกและแรงเบ่งของผู้คลอด
4.หลังจากศรีษะทารกเกิดพยาบาลจะต้องดึงสายยางออกจากขวดสูญญกาศพร้อมกับปิดเครื่อง
การช่วยคลอดด้วยคีม
ชนิดคีม
1.คีม Simpson มีลกั ษณะใบคีมเป็ นช่องตรงกลาง กา้ นท้งั สองขา้ งแยกจากกน
2.คีม Elliot มีลักษณะโค้งของศีรษะทารกกลมและส้ัน
3.คีม Kielland มีลกั ษณะไมม่ ีโคง้ ของช่องทางคลอด
4.คีม Piper มีลกั ษณะกา้ นยาวโคง้ ไปดา้ นหลงั
5.คีม Barton มีลักษณะใบคีมหน้ามีข้อพับ ซึ่งจะเคลื่อนไหวได้เป็ นโค้ง 90 องศา
6.คีม Tucker-McLand ใช้ท าคลอดศีรษะทารกที่มีลักษณะกลม ( rounded head )
ข้อบ่งชี้
มารดา
1.ระยะที่ 2 ของการคลอดนานกว่าปกติ
2.โรคแทรกซ้อนทางสูติศาสตร์
3.โรคแทรกซ้อนทางอายุรศาสตร์
ทารก
Deep transverse arrest of head
2.Occiput persistent posterior
อันตราย
มารดา
1.ช่องทางคลอด กระเพาะปัสสาวะฉีกขาด
2.ตกเลือดหลังคลอด
3.ติดเชื้อ
4.ปัสสาวะลำบาก
5.กระดูกหัวเหน่าแยก
ทารก
1.อันตรายต่อกระโหลดศรีษะทารก
2.อันตรายต่อสมองทารก
3.อันตรายต่อเส้นประสาท facial N.
4.กระบอกตาถูกบีบทำให้ตาเหล่ หนังตาตก
5.หูหนวก เกิดบาดแผล
การพยาบาล
1.ให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการช่วยคลอดด้วยคีม
2.ดั ใหผ้ คู้ ลอดนอนท่า lithotomy โดยใชฟ้ องน้าหรือผา้ รองใตข้ าบริเวณขอ้ พบั ท้งั สองขา้ งของผคู้ ลอด
เพื่อป้องกนั การกดทบั เส้นเลือดดาบริเวณขา
3.ดูแลให้ผู้คลอดได้รับสารน้าอยา่ งเพียงพอตามแผนการรักษา
4ตรวจสัญญาณชีพของผู้คลอดทุก 1 ชวั่ โมง เพื่อประเมินภาวะแทรกซอ้ น
5.ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 15 – 30 นาที เพื่อประเมินภาวะทารกขาดออกซิเจนในครรภ์
การผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
ข้อห้าม
1.ทารกตายในครรภ์
2.ทารกพิการไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้
3.ทารกมีขนาดเล็กเกินกว่าที่จะมีชีวิตรอดได้
4.ผู้คลอดมีความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
ประเภท
1.การผา่ ตดั โดยกาหนดล่วงหนา้ ( Elective cesarean section )
2.การผา่ ตดั โดยไม่ไดก้ าหนดล่วงหนา้ หรือการผา่ ตดั แบบฉุกเฉิน ( Emergency cesarean section )
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
1.ตกเลือด
2.ติดเชื้อ
3.Amniotic fluid embolism
4.อันตรายต่ออวัยวะภายใน
ทารก
1.บาดเจ็บขณะผ่าตัดและทำคลอด
2.Respiratory distress syndrome
การพยาบาล
1.งดน้าและอาหารทางปากอยา่ งนอ้ ย 6 – 8 ชวั่ โมงก่อนผา่ ตดั เพื่อป้องกนั การสาลกั ยกเวน้ ในกรณีการ
ผา่ ตดั ฉุกเฉิน
2.สวนอุจจาระเพื่อใหล้ าไส้วา่ ง ถา้ ผคู้ ลอดอยใู่ นสภาวะเหมาะสมและไม่มีขอ้ หา้ ม
3.เตรียมความสะอาดบริเวณผวิ หนงั หนา้ ทอ้ ง โดยโกนขนต้งั แต่ยอดอก ( xyphoid ) ลงมาจนถึงตน้ ขาท้งั
สองข้าง
4.สวนปัสสาวะคาไว้ เพื่อใหก้ ระเพาะปัสสาวะวา่ งขณะผา่ ตดั
5.ดูแลผคู้ ลอดใหไ้ ดร้ ับสารน้าและยาก่อนการผา่ ตดั ตามแผนการรักษา เพื่อใหไ้ ดร้ ับสารน้าอยา่ งเพียงพอ
และทาใหผ้ คู้ ลอดผอ่ นคลายก่อนการผา่ ตดั
6.ตรวจหมู่เลือดและจองเลือดสารองไว้ 2 ยูนิต เพื่อเตรียมพร้อมในกรณีที่ผู้คลอดเสียเลือดมาก
7.ตรวจสัญญาณชีพของผู้คลอดและฟังเสียงหัวใจทารกเป็ นระยะๆ เพื่อระวงั การเปลี่ยนแปลงต่างๆของ
ผู้คลอดและทารก อนั จะก่อใหเ้ กิดอนั ตรายถึงชีวติ ได